The Effect of Supportive Group Psychotherapy on Depression among Older Adults with Type-2 Diabetes
Keywords:
Supportive group psychotherapy, Depression, Older adults with type-2 diabetesAbstract
This quasi-experimental research aimed to examine the effect of supportive group psychotherapy on depression among older adults with type-2 diabetes. The samples included 20 older adults with type-2 diabetes who received services at a sub-district health promoting hospital in Bangnampriao District, Chachoengsao Province and were equally divided into the experimental group (n = 10) and the control group (n = 10). The research instruments were composed of the supportive group psychotherapy, the Mini-Mental State Examination (MMSE)-Thai 2002, the personal information questionnaire, and the Thai Geriatric Depression Scale (TGDS) with reliability as .89. The implementation and data collection were conducted from March to May, 2019. Statistics used for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, Chi-square test, independent t-test, and two-way repeated measures ANOVA with multiple comparisons by Bonferroni method.
The research results revealed that 1) at the post-test period and the 1-month follow-up period, the experimental group had statistically significant lower mean scores of depression than those of the control group (p < .001); and 2) at the post-test period and the 1-month follow-up period, the experimental group had statistically significant lower mean scores of depression than that of the pre-test period (p < .001).
This research suggests that health care providers should apply the supportive group psychotherapy for reducing depression of older adults with type-2 diabetes in order to enhance their quality of life.
References
กลุ่มพัฒนาระบบสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ. (2559). ประเด็นสารรณรงค์วันเบาหวานโลก ปี 2559. สืบค้นจาก https://www.google.co.th/search?source=hp&ei =spI4W8KeFYP3rQG4orrABw&q
กลุ่มฟื้นฟูสมรรถภาพสมอง. (2536). แบบทดสอบสภาพสมองของไทย. สารศิริราช, 45(6), 359–374.
เกสร มุ้ยจีน, มรรยาท รุจิวิชชญ์, และชมชื่น สมประเสริฐ. (2555). ผลของโปรแกรมผ่อนคลายกล้ามเนื้อแบบก้าวหน้าร่วมกับกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคองต่อระดับความซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรัง. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, 26(1), 19–34.
แก้วตา ลีลาตระการกุล, และอุมาพร ตรังคสมบัติ. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้าและการปฏิบัติหน้าที่ของครอบครัวในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 57(1), 29–38.
ไข่มุก ไชยเจริญ. (2559). ผลของโปรแกรมกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคองต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและภาวะซึมเศร้าในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
นริสา วงศ์พนารักษ์, และสายสมร เฉลยกิตติ. (2557). ภาวะซึมเศร้า: ปัญหาสุขภาพจิตสำคัญในผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลทหารบก, 15(3), 24–31.
นิตยา จรัสแสง, ศิริพร มงคลถาวรชัย, เพชรรัตน์ บุตะเขียว, สมลักษณ์ บุญจันทร์, พรนิภา หาญละคร, และสุวรรณา อรุณพงศ์ไพศาล. (2555). ภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 57(4), 439–446.
นิพนธ์ พวงวรินทร์, อรพรรณ ทองแตง, ประเสริฐ อัสสันตชัย, รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐ์สุวรรณ, วรพรรณ เทพหัสดิน ณ อยุธยา, และกนกรัตน์ สุขะตุงคะ. (2537). แบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุของไทย. สารศิริราช, 46(1), 1–9.
บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2553). ระเบียบวิธีการวิจัยทางพยาบาลศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ยูแอนด์ไอ อินเตอร์ มีเดีย.
ประเสริฐ อัสสันตชัย. (บ.ก.). (2558). ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและการป้องกัน (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ยูเนี่ยน ครีเอชั่น.
รัตน์ศิริ ทาโต. (2552). การวิจัยทางพยาบาลศาสตร์: แนวคิดสู่การประยุกต์ใช้ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เรณุการ์ ทองคำรอด. (2562). ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ. สืบค้นจาก https://www.stou.ac.th/stoukc/elder/main1_8.html
ลลดา พลคะชา. (2554). ผลของการใช้กลุ่มบำบัดตามแนวคิดของยาลอมต่อการเพิ่มคุณค่าในตนเองของวัยรุ่นชายที่เสี่ยงต่อการดื่มแอลกอฮอล์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
วรัทยา ทัดหล่อ, ภาวนา กีรติยุตวงศ์, ชนัดดา แนบเกษร, และนิภาวรรณ สามารถกิจ. (2555). ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ในเขตชุมชนเมือง จังหวัดชลบุรี. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 20(1), 57–69.
วิไลวรรณ ทองเจริญ. (2554). ศาสตร์และศิลป์การพยาบาลผู้สูงอายุ. กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศิริลักษณ์ ปัญญา, และเพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์. (2558). จิตบำบัดสัมพันธภาพระหว่างบุคคลแบบกลุ่มกับภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า. วารสารพยาบาลตำรวจ, 7(1), 263–278.
สายฝน เอกวรางกูร. (2554). รู้จัก เข้าใจ ดูแลภาวะซึมเศร้า. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สาวิตรี สิงหาด. (2559). การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 18(3), 15–24.
สำนักงานส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย. (2556). รายงานการสำรวจสุขภาวะผู้สูงอายุไทย ปี 2556 ภายใต้แผนงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและผู้พิการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์วัชรินทร์.
สำนักยุทธศาสตร์สุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต. (2559). แผนยุทธศาสตร์กรมสุขภาพจิตในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–2564). นนทบุรี: ผู้แต่ง.
สุณิสา ศรีโมอ่อน, อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยอง, และอัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. (2554). การบำบัดโดยการแก้ปัญหาในการลดอาการซึมเศร้าในวัยผู้ใหญ่: การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์. วารสารสภาการพยาบาล, 26(3), 107–116.
สุนทรีย์ โบราณ. (2559). ผลของกลุ่มจิตบำบัดแบบประคับประคองต่อการรับรู้ความสามารถของตนและความตั้งใจในการเลิกเสพสารเสพติดในวัยรุ่นที่ติดสารแอมเฟตามีน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
อัญชนา ณ ระนอง. (2562). “ผู้สูงอายุไทยซึมเศร้าหรือไม่”. สืบค้นจาก http://nidapoll.nida.ac.th/index.php?op=polls-detail&id=650
อุดมลักษณ์ ศรีเพ็ง. (2554). ผลของจิตบำบัดประคับประคองโดยครอบครัวมีส่วนร่วมต่ออาการซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าวัยสูงอายุ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Anderson, A. N. (2001). Treating depression in old age: The reasons to be positive. Age and Aging, 30(1), 13–17. doi:10.1093/ageing/30.1.13
Beck, A. T. (1967). Depression: Clinical, experimental, and theoretical aspects. New York: Hoeber Medical Division.
van Schaik, A., van Marwijk, H., Adèr, H., van Dyck, R., de Haan, M., Penninx, B., … Beekman, A. (2006). Interpersonal psychotherapy for elderly patients in primary care. The American Journal of Geriatric Psychiatry, 14(9), 777-786. doi: 10.1097/01.JGP.0000199341.25431.4b
Yalom, I. D. (1995). The theory and practice of group psychotherapy (4th ed.). New York: Basic Books.
Zhang, B., & Li, J. (2010). Gender and marital status differences in depressive symptoms among elderly adults: The roles of family support and friend support. Retrieved from https://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/13607863.2011.569481
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2021 JOURNAL OF PHRAPOKKLAO NURSING COLLEGE
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อความ ข้อมูล และรายการอ้างอิงที่ผู้เขียนใช้ในการเขียนบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ถือเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วยหรือร่วมรับผิดชอบ
บทความที่ได้รับการลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี หากหน่วยงานหรือบุคคลใดต้องการนำส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดของบทความไปเผยแพร่ต่อเพื่อวัตถุประสงค์ใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตจากบรรณาธิการวารสารก่อน