Main Role Performances of Village Health Volunteers

Authors

  • Yutthana Yaebkai Sukhothai Provincial Public Health Office
  • Pramote Wongsawat Faculty of Public Health, Naresuan University

Keywords:

Performance, Role, Village health volunteers

Abstract

Village health volunteers perform main roles in health promotion, surveillance, disease prevention and control, health rehabilitation, and consumer protection. Village health volunteers had successfully performed their roles in primary health care, family planning which can increase the rate of contraception and reduce the rate of birth, unwanted pregnancy, the reduction of human immunodeficiency virus infection, illness, mortality, and other matters. The association network and related stakeholders should improve specific performances among village health volunteers by applying the model of performance development for village health volunteers, focusing on bringing innovation and digital technology to healthcare services for the people in order to increase the efficiency and effectiveness of health promotion, surveillance, disease prevention and control, health rehabilitation, and consumer protection.

References

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2556). คู่มือ อสม. มืออาชีพ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2560). หนังสือที่ระลึกวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ ประจำปี พุทธศักราช 2560. นนทบุรี: ผู้แต่ง.

กระทรวงสาธารณสุข. (2554). ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน พ.ศ. 2554 ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 128 ตอนพิเศษ 33 ง. สืบค้นจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/033/1.PDF

กระทรวงสาธารณสุข. (2562). ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง สิทธิได้รับเงินค่าป่วยการในการปฏิบัติหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน พ.ศ. 2560 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2562 ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 136 ตอนพิเศษ 70 ง. สืบค้นจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/070/T_0007.PDF

กระทรวงสาธารณสุข. (2563). ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเบิกจ่ายเงินค่าตอบแทน เยียวยา ชดเชย และเสี่ยงภัยสำหรับการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชน พ.ศ. 2563 ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 137 ตอนพิเศษ 194 ง. สืบค้นจาก http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/194/T_0030.PDF

กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2557). วิวัฒนาการการสาธารณสุขมูลฐานในประเทศไทย (พ.ศ. 2521 – พ.ศ. 2557). กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.

กองสนับสนุนสุขภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ. (2559). คู่มืออาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

เกียรติศักดิ์ ศรีวงษ์ชัย. (2554). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้านในเขตตำบลคลองตำหรุ อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

แจ่มนภา ใขคำ, ชลิยา ศิริกาล, ถนอมศักดิ์ บุญสู่, และแก้วใจ มาลีลัย. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 12(2), 59–68.

ณัฐวุฒิ ช่วยหอม. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานป้องกันและควบคุมวัณโรคของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในตำบลท่าทองใหม่ อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิชาการแพทย์เขต 11, 32(1), 899–906.

ตวงพร กตัญญุตานนท์, อมลวรรณ อนุการ, เบญจมาศ โนวัฒน์, ทศนีย์ คงคล้าย, ศรีจิตรา อินสว่าง, วชิราภรณ์ บรรหาร, และปิยาภรณ์ เวชการ. (2561). การปฏิบัติงานเกี่ยวกับโรคเบาหวานตามบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน: โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแห่งหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ. วารสาร มฉก.วิชาการ, 21(42), 1–12.

เตือนใจ ปาประโคน, และวิทัศน์ จันทรโพธิ์ศรี. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมกับบทบาทของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุอำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6(3), 31–38.

ปุญญพัฒน์ ไชยเมล์, และปัทมา รักเกื้อ. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อบทบาทในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ, 21(1), 31–39.

พิมพ์ณภัสร ทองทราย, แสงทอง ธีระทองคำ, นพวรรณ เปียซื่อ, และกมลรัตน์ กิตติพิมพานนท์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติ และการปฏิบัติการดูแลผู้ที่เสี่ยงต่อเบาหวานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, 29(1), 148–158.

ภิรญา จำปาศรี, สมสมัย รัตนกรีฑากุล, และวรรณรัตน์ ลาวัง. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการทางการเคลื่อนไหวหรือทางร่างกาย ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในจังหวัดนครปฐม. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 25(3), 76–88.

มนู เกตุเอี่ยม, และยุทธนา แยบคาย. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดสุโขทัย. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2(2), 37–49.

มัทนา อัศวสัมฤทธิ์, ชุลีกร ด่านยุทธศิลป์, และฐิติอาภา ตั้งค้าวานิช. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานป้องกันโรคไม่ติดต่อของอาสาสมัครสาธารณสุขเชี่ยวชาญ จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, 12(1), 95–105.

ยุทธนา แยบคาย. (2563). รูปแบบการพัฒนาผลการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.

วีระพงษ์ นวลเนือง, สมโภช รติโอฬาร, และวรางคณา จันทร์คง. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดสมุทรสาคร. ใน เอกสารการจัดประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 5 (น. 1–14). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สิวลี รัตนปัญญา. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเฝ้าระวังและควบคุมโรคไข้เลือดออกในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารราชพฤกษ์, 16(2), 87–96.

อภิสิทธิ์ บุญเกิด. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามหน้าที่ของอาสาสมัคสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในตำบลบ้านสวน อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

Kok, M. C., Dieleman, M., Taegtmeyer, M., Broerse, J. E. W., Kane, S. S., Ormel, H., … Koning, K. A. M. de. (2015). Which intervention design factors influence performance of community health workers in low-and middle-income countries? A systematic review. Health Policy and Planning, 30(1), 1207–1227. doi:10.1093/heapol/czu126

World Health Organization. (2010). Monitoring the building blocks of health systems: A handbook of indicators and their measurement strategies. Geneva: WHO Document Production Services.

World Health Organization. (2020). Thailand’s 1 million village health volunteers - “unsung heroes” – are helping guard communities nationwide from COVID-19. Retrieved from https://www.who.int/thailand/

Downloads

Published

2020-12-29

How to Cite

Yaebkai, Y., & Wongsawat, P. (2020). Main Role Performances of Village Health Volunteers. Journal of Phrapokklao Nursing College, Chanthaburi, 31(2), 269–279. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/pnc/article/view/245517

Issue

Section

Academic Article (บทความวิชาการ)