The Effects of Protection Motivation Theory Application Program for Hypertension Prevention Behaviors of the Population at Risk

Authors

  • Rumpai Noktajun คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

Keywords:

Protection Motivation Theory, Prevention behaviors, Hypertension, Population at risk

Abstract

This quasi-experimental research aimed to examine the effects of Protection Motivation Theory Application Program for hypertension prevention behaviors of the population at risk. Subjects consisted of 70 hypertensive population at risk in Phan Suk subdistrict, Aranyaprathet district, Sakaeo province. They were equally divided into an experimental group and a comparison group. The research instruments composed of the Protection Motivation Theory Application Program, a test with the reliability of .74, and the questionnaires with the reliability within the range of .73-.87. The implementation and data collection were conducted from January to March, 2015. Statistics used for data analysis included frequency, percentage, mean, standard deviation, paired t-test, and independent t-test.

Research results revealed that: 1) after the experiment, the experimental group had significantly scores of knowledge concerning hypertension, perceived severity of hypertension, perceived susceptibility of hypertension, expectation in responses efficacy regarding hypertension prevention, self-efficacy expectation in hypertension prevention, and hypertension prevention practices than before the experiment (p < .001); and 2) after the experiment, the experimental group had significantly scores of knowledge concerning hypertension, perceived severity of hypertension, perceived susceptibility of hypertension, expectation in responses efficacy regarding hypertension prevention, self-efficacy expectation in hypertension prevention, and hypertension prevention practices than those in the comparison group (p < .001).

This study suggested that the Protection Motivation Theory Application Program should be applied for modifying health behaviors among hypertensive population at risk in other areas.

References

ธวัชชัย วรพงศธร. (2543). หลักการวิจัยทางสาธารณสุขศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

บุญชู เหลิมทอง. (2553). ผลของโปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อป้องกันโรค ต่อพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง กองทัพอากาศ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล.

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองปรือ อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว. (2556). สรุปรายงานประจำปี. สระแก้ว: ผู้แต่ง.

วาสนา มากผาสุข. (2551). ผลของโปรแกรมการจูงใจเพื่อป้องกันต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงกลุ่มเสี่ยง (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีณา เที่ยงธรรม, อาภาพร เผ่าวัฒนา, และอรนุช พงษ์สมบูรณ์. (2553). โปรแกรมการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในระดับปฐมภูมิ สำหรับประชากรกลุ่มเสี่ยงในชุมชน จังหวัดนครปฐม. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 22(1-3), 11-28.

สมพร เจือจันทึก. (2552). การประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อการป้องกันโรคและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระแก้ว. (2556). รายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง. สระแก้ว: ผู้แต่ง.

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2556). แนวปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการจัดบริการคัดกรองและเสริมทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อในสถานบริการและในชุมชน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

สุวรรณา สุนทรวิภาต. (2553). ผลของการประยุกต์ใช้ทฤษฎีแรงจูงใจร่วมกับการสนับสนุนทางสังคมในการควบคุมความดันโลหิตในผู้สูงอายุ เทศบาลตำบลสระกระโจม อำเภอดอนเจดีย์ จังหวัดสุพรรณบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

อมรา ทองหงษ์, กมลชนก เทพสิทธา, และภาคภูมิ จงพิริยะอนันต์. (2556). รายงานการเฝ้าระวังโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี พ.ศ. 2555. รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจำสัปดาห์, 44(51), 801-808.

Rogers, R. W. (1975). A Protection Motivation Theory of fear appeals and attitude change. The Journal of Psychology: Interdisciplinary and Applied, 91(1), 93-114.

Downloads

Published

2018-03-30

How to Cite

Noktajun, R. (2018). The Effects of Protection Motivation Theory Application Program for Hypertension Prevention Behaviors of the Population at Risk. Journal of Phrapokklao Nursing College, Chanthaburi, 27(2), 16–28. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/pnc/article/view/117265

Issue

Section

Research Report (รายงานการวิจัย)