Effect of Developing the Skills of Thai Massage of Teenagers for Relaxing in People with Shoulder and Neck Pain
Keywords:
Teenagers, Thai massage for relaxing, Shoulder and neck painAbstract
The purpose of this quasi-experimental research was to determine the effects of Thai massage skill development among teenagers who practiced Thai relaxing massage for people with shoulder and neck pain. Study’s participants were composed of 16 female teenagers studying in Benjamanusorn School, Muang District, Chanthaburi Province, and 16 parents or relatives of theirs. The research tools consisted of the relaxing Thai massage program, the Thai massage manual, a pain scale, a relaxation evaluation scale with the reliability of .79, and a questionnaire of satisfaction with the reliability of .82. The implementation and data collection were conducted from June to August 2015. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and paired t-test.
The results were as follows:
1. Before the relaxing massage by teenagers, people with shoulder and neck pain had an average pain score of 3.87 (SD = 1.54); whereas, an average pain score after the relaxing massage was 2.31 (SD = 1.43). Also, an average pain score after massage was statistically significantly lower than that before massage (t = 3.983, p < .01).
2. The percentages of participants with pain relief at high, moderate, and very high levels were 68.75, 18.75, and 12.50, respectively.
3. The percentages of participants with satisfaction toward relaxing Thai massage at high, very high, and moderate levels were 68.75, 18.75, and 12.50, respectively.
This study suggested that nurses should promote skill of health care for people by teaching basic Thai massage in young people to enhance their knowledge, understanding, and good attitude. Doing so, teenagers will be able to use Thai massage in health care for themselves and their family.
References
ชนินทร์ ลีวานันท์. (2554). Thai traditional massage for back pain. สืบค้น วันที่ 10 พฤศจิกายน 2554, จาก http://www.dtam.moph.go.th/alternative/viewstory.php?id=418
ประดิษฐ์กร สูทธิฐานธรรม. (2556). นวดบำบัด คลายปวดเมื่อย ขับสารพิษ ฉบับนวดด้วยตัวเอง. กรุงเทพฯ: ฐานบัณฑิต.
ยงศักดิ์ ตันติปิฎก. (2553). หลักพื้นฐานการนวดไทย (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: อุษาการพิมพ์.
รสสุคนธ์ พื้นสะอาด. (2558). ผลของการนวดแบบราชสำนักในการรักษากลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อหลังส่วนบนของผู้มารับบริการในศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแผนไทย โรงพยาบาลพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี. ใน เอกสารประกอบการนำเสนอผลงานวิชาการในงานประชุมวิชาการ กระทรวงสาธารณสุข ประจำปี 2558 เรื่อง จุดเปลี่ยนสุขภาพไทย...หลัง 2015. วันที่ 14-16 กันยายน 2558 ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ซิตี้ จอมเทียน จังหวัดชลบุรี.
วสันต์ ไชยฉกรรจ์. (2556). หน่วยที่ 3 การเตรียมความพร้อมและการนวดแผนไทยอย่างมีคุณภาพ. ใน เอกสารการสอนชุดวิชานวดแผนไทย 55310 หน่วยที่ 1-7 (พิมพ์ครั้งที่ 9). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วิชัย อึงพินิจพงศ์. (2551). การนวดแผนไทยเพื่อการบำบัด. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
วิศรุต บุตรากาศ. (2551). ผลแบบเฉียบพลันของการนวดไทยต่อความผันแปรของอัตราการเต้นของหัวใจ และตัวแปรที่สัมพันธ์กับความเครียดในผู้ที่มีอาการปวดหลังที่มีสาเหตุมาจากกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและพังผืด (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วิโรจน์ วรรณภิระ, ปานจิต วรรณภิระ, และกัญญารัตน์ ค้ำจุน. (2557). ผลการรักษาผู้ป่วยปวดคอและหลังส่วนบน จาก Myofascial Pain Syndrome ระหว่างอัลตราซาวด์ นวดไทย และอัลตราซาวด์ร่วมกับนวดไทย. พุทธชินราชเวชสาร, 31(1), 227-241.
โสภา ลี้ศิริวัฒนกุล, คณิสร แก้วแดง, และวิภารัตน์ ภิบาลวงษ์. (2555). การเปรียบเทียบประสิทธิผลของการนวดเพื่อผ่อนคลายแบบนวดโดยใช้น้ำมันไพลกับนวดแบบดั้งเดิมในผู้ที่มีปัญหาปวดไหล่และคอ (รายงานผลการวิจัย). วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี.
อมรรัตน์ ภาระราช. (2549). ผลของการนวดแผนไทยประยุกต์ต่อความเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อและความสุขสบาย ในผู้ป่วยคาท่อช่วยหายใจทางปากที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2016 Journal of Phrapokklao Nursing College
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อความ ข้อมูล และรายการอ้างอิงที่ผู้เขียนใช้ในการเขียนบทความเพื่อลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ถือเป็นความคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียน คณะผู้จัดทำวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วยหรือร่วมรับผิดชอบ
บทความที่ได้รับการลงตีพิมพ์ในวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี หากหน่วยงานหรือบุคคลใดต้องการนำส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดของบทความไปเผยแพร่ต่อเพื่อวัตถุประสงค์ใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตจากบรรณาธิการวารสารก่อน