Submissions

Login or Register to make a submission.

Submission Preparation Checklist

As part of the submission process, authors are required to check off their submission's compliance with all of the following items, and submissions may be returned to authors that do not adhere to these guidelines.
  • The submission has not been previously published, nor is it before another journal for consideration (or an explanation has been provided in Comments to the Editor).
  • The submission file is in Microsoft Word document file format.
  • Where available, URLs for the references have been provided.
  • The text is single-spaced; uses a 16-point Browallia New font; and all illustrations, figures, and tables are placed within the text at the end.
  • The text adheres to the stylistic and references requirements outlined in the (Vancouver Style) Author Guidelines, which is found in About the Journal.
  • Maximum length: ≤4,500 words The 4,500 word limit includes the title page, abstract, keyword, text, acknowledgments, sources of funding, disclosures, references, figure legends, tables and appendices (like nonauthor collaborators).
  • Maximum number of page: ≤15 pages (A4 paper)

Author Guidelines

ค่าธรรมเนียมการตีพิมพ์ Article Processing Charges (APC)

วารสารสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทยดำเนินการจัดเก็บค่าธรรมเนียมจำนวน 3,000 บาท (สามพันบาทถ้วน) สำหรับผู้นิพนธ์ที่ต้องการนำบทความไปใช้ในการขอ/พิจารณาตําแหน่งทางวิชาการ โดยมีการตรวจสอบคุณภาพของบทความโดยผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความ 3 ท่าน เป็นไปตามมาตรฐานในการขอ/พิจารณาตำแหน่งวิชาการ โดยจะจัดเก็บค่าธรรมเนียมเมื่อเริ่มส่งบทความเพื่อพิจารณา

ทั้งนี้ หากผู้นิพนธ์บทความถูกปฏิเสธ หรือยกเลิกในระหว่างการพิจารณาของผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความผู้นิพนธ์จะไม่สามารถรับค่าธรรมเนียมคืนได้

การใช้งานระบบวารสาร ThaiJo คลิกอ่าน

คำแนะนำสำหรับผู้นิพนธ์ ดาวน์โหลด PDF

วารสารสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทยเป็นวารสารวิชาการ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอ ตีพิมพ์ เผยแพร่ผลงานวิจัย และผลงานทางวิชาการทางด้านโรคหลอดเลือดสมอง ครอบคลุมวิทยาศาสตร์พื้นฐาน ระบาดวิทยา การป้องกัน การรักษา จากสาขาวิชาต่าง ๆ อาทิเช่น ประสาทวิทยา ประสาทศัลยศาสตร์ รังสีวินิจฉัยทางด้านระบบประสาท รังสีร่วมรักษาระบบประสาท เวชศาสตร์ฟื้นฟู เป็นต้น ทั้งนี้ผลงานที่ได้รับการเผยแพร่ต้องไม่เคยตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน และต้องผ่านการประเมินโดยวิธีการ double-blinded จากผู้ทรงคุณวุฒิอย่างน้อย 2 ท่านต่อบทความ (peer-review)

ประเภทบทความที่รับตีพิมพ์

  1. บทความวิจัยประเภทนิพนธ์ต้นฉบับ (original article)* เป็นบทความรายงานข้อมูลจากการศึกษา หรือวิจัยประเภทต่างๆ อาทิเช่น randomized trials, intervention studies, cohort studies, case-control studies, observational studies, diagnostic/prognostic studies เป็นต้น
  2. บทความปริทัศน์ (review article)* เป็นบทความซึ่งถูกคัดเลือกว่าเป็นหัวข้อที่มีความสำคัญหรือน่าสนใจ นำมาถูกทบทวนและเรียบเรียงจากหนังสือ การศึกษา งานวิจัย ตลอดจนผลงานตีพิมพ์ประเภทต่างๆ
  3. รายงานผู้ป่วย (case report)* เป็นบทความเสนอรายงานตัวอย่างผู้ป่วยกรณีศึกษาที่มีโรคที่พบได้น้อยหรือเกิดขึ้นใหม่ซึ่งมีความน่าสนใจ
  4. บทความรับเชิญ (invited commentary) เป็นบทความโดยผู้เชี่ยวชาญหรือมีประสบการณ์ด้านโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งได้ถูกเชิญโดยกองบรรณาธิการเพื่ออภิปราย แสดงข้อคิดเห็นทางวิชาการ
  5. แนวทางเวชปฏิบัติ (clinical practice guideline) เป็นแนวทางในการวินิจฉัย การดูแลรักษาโรค ซึ่งจัดทำโดยองค์กรวิชาชีพที่เกี่ยวข้องหรือกลุ่มแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในโรคนั้น เพื่อให้เกิดการปฏิบัติที่มีมาตรฐาน ทั้งนี้อาจมีการปรับปรุงจากแนวทางเวชปฏิบัติเดิมเป็นระยะเพื่อให้มีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เหมาะสมกับบริบทของประเทศ
  6. แถลงการณ์ (scientific statement) เป็นถ้อยแถลงเชิงวิชาการจากนักวิชาการหรือสมาคมวิชาชีพ 
  7. บทความอื่น ๆ เช่น ประชาสัมพันธ์, ข่าวสารด้านโรคหลอดเลือดสมอง, กิจกรรมของสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทยหรือสมาชิก, ตารางการประชุมวิชาการ เป็นต้น

* บทความวิจัยประเภทนิพนธ์ต้นฉบับ (original article) บทความปริทัศน์ (review article) และรายงานผู้ป่วย (case report) ต้องผ่านการประเมินโดยวิธีการ double-blinded จากผู้ทรงคุณวุฒิอย่างน้อย 2 ท่านต่อบทความ (peer review)

คณะบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณารับตีพิมพ์บทความในวารสารสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย ในกรณีได้รับการตอบรับตีพิมพ์ ผู้นิพนธ์หลักจะได้รับจดหมายตอบรับจากกองบรรณาธิการ และจะได้รับวารสารจำนวน 3 ฉบับ โดยจะจัดส่งให้ผู้นิพนธ์ชื่อแรกหรือผู้นิพนธ์หลักตามที่อยู่ที่ระบุไว้ นอกจากนี้บทความทั้งหมดจะได้การเผยแพร่ทาง website ของสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย (https://thaistrokesociety.org) และ website ของ ThaiJO URL : https://tci-thaijo.org/ หรือ https://www.tci-thaijo.org/index.php/jtss/index

ข้อพิจารณาด้านลิขสิทธิ์ (copyright notice)

ข้อความภายในบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทยเล่มนี้ ตลอดจนความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความเป็นของผู้นิพนธ์ ไม่เกี่ยวข้องกับกองบรรณาธิการแต่อย่างใด การนำเนื้อหา ข้อความหรือข้อคิดเห็นของบทความไปเผยแพร่ ต้องได้รับอนุญาตจากกองบรรณาธิการอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร ผลงานที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารเล่มนี้ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร

การเตรียมต้นฉบับ

การเตรียมบทความใช้โปรแกรม Microsoft Word ตัวอักษร Browallia New ขนาด 16 พอยด์ และมีความยาวไม่เกิน 4,500 คำ โดย 4,500 คำ ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง, บทคัดย่อ, คำสำคัญ, เนื้อหา , กิตติกรรมประกาศ (ถ้ามี), ผู้สนับสนุนเงินทุน (ถ้ามี), แหล่งที่มาข้องข้อมูล, เอกสารอ้างอิง, คำอธิบายภาพ, ตารางและภาคผนวก (ถ้ามี เช่น ผู้ทำงานร่วมกันที่ไม่ใช่ผู้เขียน) จำนวนหน้าสูงสุดไม่เกิน 15 หน้ากระดาษ (กระดาษ A4) โดยสามารถส่งได้ทั้งภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ผู้นิพนธ์ต้องจัดเตรียมบทความต้นฉบับ (manuscript) ตามข้อกำหนดของบทความแต่ละประเภท ดังรายละเอียดข้างล่างนี้

ประเภทบทความ

ข้อกำหนด

รายละเอียด

บทความวิจัย

จดหมายปะหน้า (cover letter)

ประกอบด้วย ประเภทบทความ, ชื่อและสังกัด ที่ติดต่อ เบอร์โทรศัพท์

(original article)

 

และ Email address ของผู้นิพนธ์หลัก (corresponding author)

 

 

ระบุว่าได้ผ่านคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยของหน่วยงาน

และผลงานที่ต้องการเผยแพร่ไม่เคยตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน

 

หน้าแรก (title page)

ประกอบด้วย ชื่อบทความ, ชื่อและสังกัดผู้นิพนธ์ทุกคน

 

ภาษาอังกฤษและภาษาไทย

ระบุผู้นิพนธ์หลัก พร้อมที่ติดต่อ เบอร์โทรศัพท์ และ Email address

 

บทคัดย่อ (abstract)

เป็นข้อความสรุปเนื้อหาบทความวิจัย จำนวนไม่เกิน 250 คำ

 

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

ประกอบด้วย วัตถุประสงค์การวิจัย (objective), วิธีวิจัย, ผลการวิจัย

และบทสรุป

 

คำสำคัญ (keywords)

จำนวน 3-5 คำ

 

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

 

 

บทนำ (introduction)

 

 

วิธีวิจัย (methods)

 

 

ผลการวิจัย (results)

 

 

อภิปราย (discussion)

 

 

บทสรุป (conclusion)

 

 

องค์ความรู้ใหม่

เป็นบทสรุปของบทความที่แสดงถึงองค์ความรู้ใหม่จากบทความ

 

เอกสารอ้างอิง (references)

รูปแบบแวนคูเวอร์ (Vancouver style)

โปรดดูคำอธิบาย "เอกสารอ้างอิง" ด้านล่าง

 

ตาราง แผนภูมิหรือภาพประกอบ

แยกออกจากเนื้อหาบทความ

โปรดดูคำอธิบาย "ตารางแผนภูมิหรือภาพประกอบ" ด้านล่าง

 

ประเภทบทความ

ข้อกำหนด

รายละเอียด

บทความวิชาการ

จดหมายปะหน้า (cover letter)

ประกอบด้วย ประเภทบทความ, ชื่อและสังกัด ที่ติดต่อ เบอร์โทรศัพท์

(review article)

 

และ Email address ของผู้นิพนธ์หลัก (corresponding author)

 

 

ระบุว่าผลงานที่ต้องการเผยแพร่ไม่เคยตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน

 

หน้าแรก (title page)

ประกอบด้วย ชื่อบทความ, ชื่อและสังกัดผู้นิพนธ์ทุกคน

 

ภาษาอังกฤษและภาษาไทย

ระบุผู้นิพนธ์หลัก พร้อมที่ติดต่อ เบอร์โทรศัพท์ และEmail address

 

บทคัดย่อ (abstract)

เป็นข้อความสรุปเนื้อหาบทความวิชาการ จำนวนไม่เกิน 200 คำ

 

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

ประกอบด้วย บทนำ เนื้อหาและบทสรุป

 

คำสำคัญ (keywords)

จำนวน 3-5 คำ

 

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

 

 

เนื้อหา

 

 

บทสรุป (conclusion)

 

 

องค์ความรู้ใหม่

เป็นบทสรุปของบทความที่แสดงถึงองค์ความรู้ใหม่จากบทความ

 

เอกสารอ้างอิง (references)

รูปแบบแวนคูเวอร์ (Vancouver style)

โปรดดูคำอธิบาย "เอกสารอ้างอิง" ด้านล่าง

 

ตาราง แผนภูมิหรือภาพประกอบ

แยกออกจากเนื้อหาบทความ

โปรดดูคำอธิบาย "ตารางแผนภูมิหรือภาพประกอบ" ด้านล่าง

รายงานผู้ป่วย

จดหมายปะหน้า (cover letter)

ประกอบด้วย ประเภทบทความ, ชื่อและสังกัด ที่ติดต่อ เบอร์โทรศัพท์

(case report)

 

และ Email address ของผู้นิพนธ์หลัก (corresponding author)

 

 

ระบุว่าผลงานที่ต้องการเผยแพร่ไม่เคยตีพิมพ์ที่ใดมาก่อน

 

หน้าแรก (title page)

ประกอบด้วย ชื่อบทความ, ชื่อและสังกัดผู้นิพนธ์ทุกคน

 

ภาษาอังกฤษและภาษาไทย

ระบุผู้นิพนธ์หลัก พร้อมที่ติดต่อ เบอร์โทรศัพท์ และEmail address

 

บทคัดย่อ (abstract)

เป็นข้อความสรุปเนื้อหารายงานผู้ป่วย จำนวนไม่เกิน 200 คำ

 

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

ประกอบด้วย บทนำ เนื้อหาและบทสรุป

 

คำสำคัญ (keywords)

จำนวน 3-5 คำ

 

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

 

 

เนื้อหา

 

 

อภิปราย (discussion)

 

 

บทสรุป (conclusion)

 

 

องค์ความรู้ใหม่

เป็นบทสรุปของบทความที่แสดงถึงองค์ความรู้ใหม่จากบทความ

 

เอกสารอ้างอิง (references)

รูปแบบแวนคูเวอร์ (Vancouver style)

โปรดดูคำอธิบาย "เอกสารอ้างอิง" ด้านล่าง

 

ตาราง แผนภูมิหรือภาพประกอบ

แยกออกจากเนื้อหาบทความ

โปรดดูคำอธิบาย "ตารางแผนภูมิหรือภาพประกอบ" ด้านล่าง

ผู้นิพนธ์สามารถส่งบทความเพื่อรับการพิจารณาตีพิมพ์ (online submission) ในวารสารสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทยผ่านทาง website ThaiJO (https://www.tci-thaijo.org/index.php/jtss/index) หรือหากมีข้อสงสัย กรุณาติดต่อบรรณาธิการวารสารได้ที่ Email: [email protected]

 

เอกสารอ้างอิง

เขียนเอกสารอ้างอิงในรูปแบบแวนคูเวอร์ (Vancouver Style) อาทิเช่น

การอ้างอิงบทความจากวารสาร

รูปแบบ: ชื่อผู้แต่ง (Author). ชื่อบทความ (Title of the article). ชื่อวารสาร (Title of the Journal). ปีพิมพ์ (Year);เล่มที่ของวารสาร (Volume):หน้าแรก-หน้าสุดท้าย (Page).

ตัวอย่าง:

Dharmasaroja PA, Muengtaweepongsa S, Kommarkg U. Implementation of Telemedicine and Stroke Network in thrombolytic administration: comparison between walk-in and referred patients. Neurocritical care. 2010;13(1):62-6.

 

การอ้างอิงบทหนึ่งของหนังสือที่มีผู้เขียนเฉพาะบทและมีบรรณาธิการของหนังสือ (Chapter in a book)

รูปแบบ: ชื่อผู้เขียน (Author). ชื่อบท (Title of a chapter). ใน/In:ชื่อบรรณาธิการ,บรรณาธิการ/editor(s). ชื่อหนังสือ (Title of the book). ครั้งที่พิมพ์ (Edition). เมืองที่พิมพ์ (Place of publication):สํานักพิมพ์ (Publisher);ปีพิมพ์ (Year). หน้า/p. หน้าแรก-หน้าสุดท้าย.

ตัวอย่าง:

Dharmasaroja PA. Telemedicine and stroke network. In: Dharmasaroja PA, editor. Ischemic Stroke. Bangkok: Jarunsanitwongkanpim; 2012. p. 259-278.  

 

บทความวารสารบนอินเทอร์เน็ต (Journal article on the Internet)

รูปแบบ: ชื่อผู้แต่ง (Author). ชื่อบทความ (Title of the article). ชื่อวารสาร (Title of the Journal) [ประเภทของสื่อ]. ปีพิมพ์[เข้าถึงเมื่อ/citedปีเดือนวันที่];ปีที่:[หน้า/about screen]. เข้าถึงได้จาก/ Available from: https://.............

ตัวอย่าง:

Dharmasaroja PA, Ratanakorn D, Nidhinandana S, Charernboon T. Comparison of Computerized and Standard Cognitive Test in Thai Memory Clinic. Journal of neurosciences in rural practice [Internet]. 2018 [cited 2018 Dec 12];9(1):140-2. Available from: https://europepmc.org/articles/PMC5812140;jsessionid=A32C7A09DC3E91E92474AE8

 

*กรณีผู้แต่งเกิน 6 คน ให้ใส่ชื่อผู้แต่ง 6 คนแรก คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค (comma- ,) และตามด้วย et al.

 

ท่านสามารถสามารถศึกษาเพิ่มเติมจากได้ที่:

 

ตาราง แผนภูมิ หรือภาพประกอบ

แยกออกจากเนื้อหาบทความ โดยใส่ไว้ที่ท้ายเอกสารอ้างอิง ควรมีขนาดเนื้อหาที่เหมาะสม มีความสมบูรณ์ในตัวเอง เข้าใจง่ายและไม่ซับซ้อน

 

Privacy Statement

The names and email addresses entered in this journal site will be used exclusively for the stated purposes of this journal and will not be made available for any other purpose or to any other party.