Patient setup using 4D moving laser and conventional simulator
Abstract
ปัจจุบันมีเทคโนโลยีในการรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งด้วยเทคนิคแบบใหม่ๆ สามารถให้ปริมาณรังสีจำกัดภายในขอบเขตของก้อนมะเร็งและหลีกเลี่ยงอวัยวะสำคัญ โดยสิ่งจำเป็นสำหรับการฉายรังสีผู้ป่วยให้ถูกต้องแม่นยำทุกวันคือ การจัดท่าผู้ป่วยเพื่อจำลองการฉายรังสี การทำอุปกรณ์ยึดตรึงให้เหมาะสม และการขีดเส้นแสดงขอบเขตลำรังสืบนตัวผู้ป่วย
ปัจจุบันสาขารังสีรักษาและมะเร็งวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์มี 2 เทคนิคสำหรับการขีดเส้นแสดงขอบเขตลำรังสีบนตัวผู้ป่วย ได้แก่
- การใช้ 4D Moving Laser ในการขีดเส้นขอบเขตลำรังสีในห้อง CT simulation โดยต่อเชื่อมรับสัญญาณจาก CT Simulator และ Eclipse Treatment planning ซึ่งมีความสะดวกรวดเร็วในการขีดเส้นขอบเขตลำรังสี แต่
อาจจะมีความคลาดเคลื่อนได้
- การใช้ conventional simulator ขีดเส้นขอบเขต setup ields โดยต่อเขื่อมรับสัญญาณจาก Eclipse Treatment Planning ซึ่งแพทย์สามารถตรวจสอบจุด isocenter และขอบเขตของตำแหน่งลำรังสีจากภาพ X-Tay
โดยการเปรียบเทียบจากภาพ Digitally Reconstructed Radiographs (DRR) ได้อย่างถูกต้องแม่นยำมากกว่า
บทความนี้จะแสดงข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับการขีดเส้นขอบเขตลำรังสีทั้งสองเทคนิค เพื่อดูความสอดคล้องหรือต่างกันของทั้งสองเทคนิคนี้
References
2. Gerber RL, Purdy JA, Harms WB, Michalski JM, Graham ML. Introduction to the CT-Simulation/3-D treatment Planning Process. In: Purdy JA and Starkschall G, editors. A Practical Guide to 3D Planning and conformal Radiation therapy. Madison: U.S.A.: 1999.p.27-34.
3. Chen GT, Pelizzari CA, Rietzel ER. Imaging in Radiotherapy. In: Khan FM, editor. TreatmentPlanning in Radiation Oncology 3rd ed. New York: 2003. p. 18-9.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมะเร็งวิวัฒน์
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับ และบุคคลากรท่านอื่น ๆ ใน สมาคมฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว