ภาวะคลื่นไส้อาเจียน จากการฉายรังสีและยาเคมีบำบัด

Authors

  • กันยรัตน์ กตัญญู หน่วยรังสีรักษาและมะเร็งวิทยา

Abstract

ภาวะคลื่นไส้อาเจียนยังคงเป็นผลข้างเคียงที่เป็นปัญหาสำคัญของผู้ป่วยที่ได้รับการฉายรังสี หรือ ได้รับยาเคมีบำบัดซึ่งมีความจำเป็นที่แพทย์ต้องให้ความสำคัญ ในเกือบสองทศวรรษที่ผ่านมามีความก้าว หน้าไปมากในการรักษาภาวะคลื่นไส้อาเจียนที่เกิดจากภาวะดังกล่าว โดยมีความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิ กำเนิดของภาวะคลื่นไส้อาเจียนมากขึ้นและมีการคิดค้นยาใหม่ๆ ซึ่งผ่านการศึกษาทางคลินิกจนเป็นที่ยอม รับถึงประโยชน์หลายตัวด้วยกัน แต่อย่างไรก็ตาม ยาต่างๆ เหล่านี้ไม่สามารถที่จะป้องกันปัญหาดังกล่าวได้ ทั้งหมด ดังนั้นคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยจึงอาจเป็นสิ่งที่ต้องคำนึงถึงมากที่สุดในกรณีที่ไม่สามารถควบคุม ภาวะ คลื่นไส้อาจียนได้อย่างสมบูรณ์

References

Ann MB, Rebecca AC. Chemotherapy-related Nuasea and Vomiting. In: Berger AM, Shuster JL, Von Roenn JH, editor. Principle and practice of palliative care andsupportive oncology. 3rd ed. Philadephia: Lippincott Williams&Wilkins; 2007. p139-49.

The Antiemetic Subcomitte of the Multinational Association of Supportive Care in Cancer (MASCC). In: Prevention of chemotherapy and radiotherapy-induced emesis: results of the 2004 Perugia International Antiemetic Consensus Conference.
Annual of Oncology. 2006; 17: 20-8.

Grunberg SM, Siebel M. Management of nausea and vomiting. In: Pazdur R, Coia LR, Hoskins WJ, Wagman LD, editors. Cancer Management: A Multidisciplinary Approach. 10th ed. Lawrence: CMP Healthcare Media LLC; 2005-2006. p.875-886.

Grunberg SM, Hansen M, Deuson R, Mavros P. Incidence and impact of nausea/vomiting with modern antiemetics: perception vs. reality (Abstract). Proceedings of American Society Clinical Oncology Meeting. Orlando, FL, 2002.

Downloads

Published

2009-06-30

How to Cite

1.
กตัญญู ก. ภาวะคลื่นไส้อาเจียน จากการฉายรังสีและยาเคมีบำบัด. J Thai Assn of Radiat Oncol [Internet]. 2009 Jun. 30 [cited 2024 Nov. 15];15(1):73-84. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jtaro/article/view/203540

Issue

Section

Original articles