ปัจจัยแรงจูงใจที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับบริการฉีดวัคซีนโควิด19 เข็มกระตุ้นของผู้สูงอายุ ในอำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา

ผู้แต่ง

  • ศิรินันท์ คำสี สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
  • ญาดา เรียมมะดัน สาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
  • คทาวุธ ดีปรีชา กองส่งเสริมสุขภาพและเวชกรรมป้องกัน กรมแพทย์ทหารบก
  • ชุติกาญจน์ ถาวรเจริญ กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลบางคล้า

คำสำคัญ:

แรงจูงใจ, วัคซีนโควิด19, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

ความรุนแรงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019เป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยและความรุนแรงส่งผลต่อ การเสียชีวิตในผู้สูงอายุ ในปัจจุบันมีวัคซีนสามารถป้องกันการแพร่กระจายและลดความรุนแรงของโรคได้ ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยแรงจูงใจที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับบริการฉีดวัคซีนโควิด19 เข็ม กระตุ้นของผู้สูงอายุ อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นการวิจัยเชิงสำรวจเก็บข้อมูลแบบภาคตัดขวาง กลุ่ม ตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุที่อายุ 60 ปีขึ้นไป จำนวน 200 คน ได้รับการฉีดวัคซีนโควิด19 เข็มมาตรฐาน และผู้ที่ฉีด วัคซีนโควิด19เข็มกระตุ้น เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์โดยทดสอบคุณภาพด้านความตรงของเนื้อหา จากผู้เชี่ยวชาญการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติใช้ทดสอบไคสแควร์ (Chi-square test) จากการศึกษาพบว่า ผู้สูง อายุที่ได้รับวัคซีนเข็มมาตรฐาน 2 เข็ม (ไม่ฉีดวัคซีน Booster) และ ได้ฉีดวัคซีน Booster มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในด้านปัจจัยแรงจูงใจด้านการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (p>0.001) ด้านการรับรู้ความรุนแรงของการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (p=0.001) ด้านความคาดหวังใน ประสิทธิผลของวัคซีน (p=0.022) ด้านการรับรู้ความสามารถตนเอง (p=0.001) ปัจจัยเหล่านี้ความสัมพันธ์ต่อ การรับบริการฉีดวัคซีนโควิด19 เข็มกระตุ้นของผู้สูงอายุ

References

Atzrodt C L, Maknojia I, McCarthy R, et al.

A Guide to COVID-19: A global pandemic

caused by the novel coronavirus SARSCoV-2. FEBS J 2020;287(17):3633-650.

Ochani R, Asad A, Yasmin F, et al. COVID-19

pandemic: from origins to outcomes. A

comprehensive review of viral pathogenesis,

clinical manifestations, diagnostic evaluation,

and management. Infez Med 2021;29(1):

-36.

Wang C, Horby P W, Hayden F G, et al. A

novel coronavirus outbreak of global

health concern. The Lancet 2020;

(10223) 470–3.

Glenton C, Carlsen B, Lewin S, et al.

Healthcare workers’ perceptions and

experiences of communicating with people

over 50 years of age about vaccination: A

qualitative evidence synthesis. Cochrane

Database Syst Rev 2021;7(7):CD013706.

Department of Disease Control, Ministry

of Public Health. [Internet]. Progress

report on COVID-19 vaccination service

on August 15, 2022 [updated 14 August

; cited 3 September 2022] Available

from: https://shorturl.asia/h25CF

World Health Organization [Internet].

COVID-19 vaccines [updated 2022; cited

Aug 12]. Available from: https://

www.who.int/emergencies/diseases/

novel-coronavirus-2019/covid-19-

vaccines

World Health Organization [Internet].

Vaccines and immunization [July 2022

update; cited 2022 Aug 10]. Available

from: https://www.who.int/health-topics/

vaccines-and-immunization#tab=tab_3

Steven Prentice-Dunn, Ronald W R,.

Protection motivation theory and

preventive health: beyond the health

belief model, Health Educ Res1986;

(3):153–61.

Pratumchompoo K. Factor of motivation

protection in diseases affecting services

influenza vaccination in the elderly

Sansuk subdistrict, muang Chonburi

district, Chonburi province [dissertation

M.P.H. PUBLIC HEALTH]. Chonburi: Burapha

University; 2016.

Fitzpatrick A R, The Meaning of content

validity:Applied psychological

measurement 1983;7(1): 3–13.

Cronbach LJ. Coefficient alpha and the

internal structure of tests. Psychometrika

;16(3):297–34.

Issarasongkhram M. The relation between

the factors of motivations to COVID-19

prevention and access to vaccination

service among elderly people. Odpc2021;

(19):56-67.

Shimoni S, Hao G, Chua PE, et al. Factors

associated with COVID-19 vaccination

intent in Singapore, Australia and Hong

Kong. Vaccine 2022; 40(21):2949–59.

Bunthan W, Whaikit P, Soysang V, et al.

factor influencing to health promotion

behavior for coronavirus disease 2019

(COVID-19) prevention of older adults. J

Police Nurs 2020;12(2):323-37.

Kowalski, Robin M. Protection motivation

and the COVID-19 Virus. Health commun

;36(1):15–22.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-28

How to Cite

1.
คำสี ศ, เรียมมะดัน ญ, ดีปรีชา ค, ถาวรเจริญ ช. ปัจจัยแรงจูงใจที่มีความสัมพันธ์ต่อการรับบริการฉีดวัคซีนโควิด19 เข็มกระตุ้นของผู้สูงอายุ ในอำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา. J Med Health Sci [อินเทอร์เน็ต]. 28 เมษายน 2023 [อ้างถึง 25 เมษายน 2025];30(1):142-9. available at: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmhs/article/view/263328

ฉบับ

บท

บทความวิจัยอย่างสั้น