การวัดปริมาณรังสีที่รังสีแพทย์ได้รับจากการทำหัตการด้วยการให้ยาเคมีบำบัด ทางหลอดเลือดแดงในการรักษามะเร็งตับ (TACE) ด้วยอุปกรณ์วัดปริมาณรังสีชนิดโอเอสแอล

ผู้แต่ง

  • กาญจนา แก้วมะโรง ภาควิชารังสีเทคนิค คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
  • นิตินาถ ทีบำรุง ภาควิชารังสีเทคนิค คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
  • ปนัสดา อวิคุณประเสริฐ ภาควิชารังสีเทคนิค คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
  • สิริกาญจน์ กิตติโชติวรัตน์ สำนักงานผู้อำนวยการ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
  • ต่อพงศ์ คล้ายมนต์ ภาควิชารังสีวิทยา คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
  • ธนพล เดชวิริยะกิจ กลุ่มมาตรฐานการวัดทางนิวเคลียร์และรังสี สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ

คำสำคัญ:

การให้ยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดแดง, ปริมาณรังสีจากการทำงาน, อุปกรณ์วัดปริมาณรังสี โอเอสแอล

บทคัดย่อ

การทราบค่าปริมาณรังสีที่รังสีแพทย์ได้รับขณะทำหัตถการด้วยการให้ยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดแดง ในการรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับ (TACE) จะช่วยเป็นแนวทางในการป้องกันความเสี่ยงของแพทย์ในอนาคต การศึกษานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจวัดปริมาณรังสีที่เลนส์ตา ไทรอยด์ และมือของรังสีแพทย์ขณะทำหัตถการ TACE และ เพื่อประเมินความเสี่ยงและศึกษาปัจจัยที่ส่งต่อปริมาณรังสีที่แพทย์ได้รับขณะทำหัตถการ TACE อาสามัครเป็น รังสีแพทย์ 2 คน เก็บข้อมูลจากการทำหัตถการ TACE ในผู้ป่วย 16 คน โดยอุปกรณ์วัดปริมาณรังสีโอเอสแอล ชนิดนาโนดอทจะถูกนำไปติดที่กึ่งกลางด้านนอกของอุปกรณ์ป้องกันรังสีที่ไทรอยด์ ด้านนอกแว่นตาตะกั่วทั้งสองข้าง และที่ข้อมือทั้งสองข้างของรังสีแพทย์ เพื่อวัดปริมาณรังสีที่รังสีแพทย์ได้รับจากการทำหัตถการ TACE ผลการศึกษา พบว่าเวลาเฉลี่ยที่ใช้ในการทำหัตถการเท่ากับ 70.8 นาที เวลาเฉลี่ยของการใช้เอกซเรย์ฟลูออโรสโคปีเท่ากับ 19.1 นาที กรณีที่ไม่ใช้อุปกรณ์ป้องกันรังสี รังสีแพทย์ได้รับปริมาณรังสีเฉลี่ยที่ต่อมไทรอยด์ ตาซ้าย ตาขวา มือซ้าย และ มือขวาเท่ากับ 21.8, 56.1, 6.4, 99.5 และ 15.6 µSv ตามลำดับ จำนวนหัตถการสูงสุดที่สามารถทำได้ 29 ราย ต่อเดือน ขณะที่การใช้อุปกรณ์ป้องกันรังสีจะช่วยลดปริมาณเฉลี่ยที่ต่อมไทรอยด์ ตาซ้าย และตาขวา ได้เท่ากับ 4.1, 13.1 และ 1.2 µSv ตามลำดับ และสามารถทำหัตถการได้สูงสุด 128 รายต่อเดือน สรุปค่าปริมาณรังสีที่ รังสีแพทย์ได้รับขณะทำหัตถการ TACE อยู่ในปริมาณที่ปลอดภัยภายใต้ขีดจำกัดการได้รับรังสี การใช้อุปกรณ์ ป้องกันรังสีมีความสำคัญและจำเป็นต่อการช่วยลดอันตรายจากรังสี ผู้ปฏิบัติงานทางรังสีควรหลีกเลี่ยงการได้รับรังสี เมื่อใช้เทคนิคที่ให้ค่าปริมาณรังสีที่สูง

References

Seals KF, Lee EW, Cagnon CH, et al.

Radiation-induced cataractogenesis: A

critical literature review for the Interventional

Radiologist. Cardiovasc Intervent Radiol

;39:151-60.

Stewart FA, Akleyev AV, Hauer-Jensen M,

et al. ICRP publication 118: ICRP statement

on tissue reactions and early and late

effects of radiation in normal tissues and

organs--threshold doses for tissue reactions

in a radiation protection context. Ann ICRP

;41:1-322.

Ferlay J EM, Lam F, Colombet M, et al.

Global cancer observatory: Cancer today:

Lyon, France: International Agency for

Research on Cancer.; 2020 [cited 2021

October 31]. Available from: https://gco.

iarc.fr/today/data/factsheets/populations/

-thailand-fact-sheets.pdf.

Chida K, Kaga Y, Haga Y, et al. Occupational

dose in interventional radiology procedures.

Am J Roentgenol 2013;200:138-41.

Whitby M, Martin CJ. A study of the

distribution of dose across the hands of

interventional radiologists and cardiologists.

Br J Radiol 2005;78:219-29.

Hidajat N, Wust P, Felix R, et al. Radiation

exposure to patient and staff in hepatic

chemoembolization: risk estimation of

cancer and deterministic effects. Cardiovasc

Intervent Radiol 2006;29:791-6.

Martin CJ. A review of radiology staff doses

and dose monitoring requirements. Radiat

Prot Dosimetry 2009;136:140-57.

Chida K, Kato M, Kagaya Y, et al. Radiation

dose and radiation protection for patients

and physicians during interventional

procedure. J Radiat Res 2010;51:97-105.

Sanchez RM, Vano E, Fernandez JM, et al.

Measurements of eye lens doses in

interventional cardiology using OSL and

electronic dosemeters†. Radiat Prot

Dosimetry 2014;162:569-76.

Krisanachinda A, Srimahachota S,

Matsubara K. The current status of eye

lens dose measurement in interventional

cardiology personnel in Thailand. Radiol

Phys Technol 2017;10:142-7.

Landauer. nanoDot™ Dosimeter: Patient

monitoring solutions [cited 2021 October 31].

Available from: https://www.landauer.

com/product/nanodot.

Hamann E, Koenig T, Zuber M, et al.

Performance of a medipix3RX spectroscopic

pixel detector with a high resistivity

gallium arsenide sensor. IEEE Trans Med

Imaging 2015;34:707.

Dolly S. NISTX Calculator: Solutio in silico;

[cited 2020 November 15]. Available

from: http://solutioinsilico.com/medicalphysics/applications/nist-lookup.

php?ans=0.

Funama Y, Nagasue N, Awai K, et al.

Radiation exposure of operator performing

interventional procedures using a flat

panel angiography system: Evaluation

with photoluminescence glass dosimeters.

Jpn J Radiol 2010;28:423-9.

Degiorgio S, Gerasia R, Liotta F, et al.

Radiation doses to operators in

hepatobiliary interventional procedures.

Cardiovasc Intervent Radiol 2018;41:772-80.

Shah P, Khanna R, Kapoor A, et al. Efficacy

of RADPAD protection drape in reducing

radiation exposure in the catheterization

laboratory—First Indian study. Indian

Heart Journal 2018;70:S265-S8.

Palácio EP, Ribeiro AA, Gavassi BM, et al.

Exposure of the surgical team to ionizing

radiation during orthopedic surgical

procedures. Rev Bras Ortop 2014;49:227-32.

Wilson-Stewart KS, Fontanarosa D, Li D,

et at.Taller staff occupationally exposed

to less radiation to the temple in cardiac

procedures, but risk higher doses during

vascular cases. Scientific Reports 2020;10:

Mechlenburg I, Daugaard H, Soballe K.

Radiation exposure to the orthopaedic

surgeon during periacetabular osteotomy.

Int Orthop 2009;33:1747-51.

Boddu SR, Corey A, Peterson R, et al.

Fluoroscopic-guided lumbar puncture:

fluoroscopic time and implications of

body mass index--a baseline study. Am J

Neuroradiol 2014;35:1475-80.

Kim HO, Lee BC, Park C, et al. Occupational

dose and associated factors during

transarterial chemoembolization of

hepatocellular carcinoma using real-time

dosimetry: A simple way to reduce

radiation exposure. Medicine (Baltimore)

;101:e28744.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-04-28

How to Cite

1.
แก้วมะโรง ก, ทีบำรุง น, อวิคุณประเสริฐ ป, กิตติโชติวรัตน์ ส, คล้ายมนต์ ต, เดชวิริยะกิจ ธ. การวัดปริมาณรังสีที่รังสีแพทย์ได้รับจากการทำหัตการด้วยการให้ยาเคมีบำบัด ทางหลอดเลือดแดงในการรักษามะเร็งตับ (TACE) ด้วยอุปกรณ์วัดปริมาณรังสีชนิดโอเอสแอล. J Med Health Sci [อินเทอร์เน็ต]. 28 เมษายน 2023 [อ้างถึง 9 เมษายน 2025];30(1):43-51. available at: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmhs/article/view/263320

ฉบับ

บท

บทความวิจัย