6.การสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แบบมีส่วนร่วม ตำบลเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ กันยายน 2564

Main Article Content

ภูดิศศักดิ์ ท่อศิริโภควัฒน์
วรรณา วิจิตร
สมจิตร บุญชัยยะ

บทคัดย่อ

วันที่ 13 กันยายน 2564 ทีมปฏิบัติสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2 จังหวัดพิษณุโลก
ร่วมกับทีมในพื้นที่ดำเนินการสอบสวนโรค COVID-19   เพื่อศึกษาสถานการณ์ปัญหาของโรค เสนอแนะมาตรการป้องกันควบคุมโรค และประเมินผลการดำเนินงาน การศึกษาระบาดวิทยาเชิงพรรณนา ภาคตัดขวาง ประยุกต์ใช้หลักการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม โดยการสัมภาษณ์ผู้ป่วย ค้นหาผู้ป่วยเพิ่มเติม ศึกษาผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ ศึกษาการรับวัคซีน ศึกษาการรับรู้ของประชาชน การจัดทำแผน การนำแผนไปปฏิบัติ ประเมินผล ดำเนินการคัดกรองจำนวน 1,460 คน (ร้อยละ 8.84) ผู้ป่วยยืนยัน 22 ราย (ร้อยละ 17.80) ผู้ป่วยเข้าข่าย 101 ราย (ร้อยละ 82.10) เสียชีวิต 1 ราย (อัตราป่วยตาย 0.81) อัตราป่วยเพศหญิงต่อเพศชาย 1.23:1  การฉีดวัตซีนป้องกันควบคุมโรค COVID-19  กลุ่มอายุ 18 ปีขึ้นไป เข็มแรกร้อยละ 47.75 เข็มที่ 2
ร้อยละ 11.33 ประชาชนไม่ต้องการรับวัคซีนร้อยละ 38.2 สาเหตุไม่ฉีดวัคซีนคือ ไม่ได้เดินทางออกจากหมู่บ้านไม่กล้าฉีด การเสียชีวิตจากสื่อโซเชียล ทีมสอบสวนโรคจัดทำมาตรการเข้าออกหมู่บ้าน เฝ้าระวังคัดกรองด้วย Antigen test kit จัดระเบียบในกลุ่มร้านค้า และตลาด กักกันกลุ่มเสี่ยงที่สัมผัสผู้ป่วยให้ครบ 14 วัน เร่งรัดการฉีดวัคซีนและสื่อสารด้วยภาษาม้ง เสียงตามสาย DMHT และเฝ้าระวังผู้ป่วยจนถึงวันที่ 20 ตุลาคม 2564 และติดตามผลการรับวัคซีน เข็มที่ 1 ร้อยละ 86.71 เข็มที่ 2 ร้อยละ 73.03

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

กรมควบคุมโรค แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ฉบับวันที่ 11 สิงหาคม 2564 [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 13 ก.ย 2564]; เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/file/g_srrt/g_srrt_110864.pdf

กรมควบคุมโรค สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการสาธารณสุข และปัญหา อุปสรรคการป้องกันควบคุมโรคในผู้เดินทาง [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 13 ก.ย 2564]; เข้าถึงได้จาก: https://ddc.moph.go.th/uploads/files/2017420210820025238.pdf

กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. 2564 แนวทางการให้วัคซีนโควิด 19 ในสถานการณ์การระบาด ปี 2564 ของประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2 [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 13 ก.ย 2564]; เข้าถึงได้ จาก: https://ddc.moph.go.th/vaccine- covid19/getFiles/11/

pdf

กระทรวงสาธารณสุข (2563) ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตราย (ฉบับที่ 3) [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 27 พ.ค 2564]; เข้าถึงได้ จาก: https://www.ratchakitcha .soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/048/T_0001.PDF

World Health Organization. Archived: Who Timeline-COVID-19.[Internet]. [cited 2023 Aug 30].Available from: https://www.who.int/news/item/27-04-2020-who-timeline---covid-19

World Health Organization. COVID 19 Public Health Emergency of International Concern (PHEIC) Global research and innovation forum: towards a research roadmap.[Internet]. [cited 2023 Aug 30].Available from: https://www.who.int/publications/m/item/covid-19-public- health-emergency-of-international-concern-(pheic)-global-research-and-innovation-forum

World Health Organization. coronavirus disease (COVID) questions and answers on vaccine Safety.[Internet]. [cited 2019 Jun 13]. Available from: https://www.who.int/thailand/emergencies/novel-coronavirus-2019/q-a-on-covid-19/q-a-on-covid-19-vaccines-safety

กมลวรรณสุวรรณ และคณะ ที่ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของผู้ปกครองในการให้บุตรฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019โรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครยะลา. [อินเตอร์เน็ต]. 2563 [เข้าถึงเมื่อ วันที่ 31 ม.ค 256]; เข้าถึงได้จาก: https://he01.tcithaijo.org/index.php/kcn/article/view/259724/177788

กัมปนาท โคตรพันธ์ และนิยม จันทร์นวลศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจรับวัคซีนโควิด 19 ของประชาชนในจังหวัดมุกดาหาร [อินเตอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 31 ม.ค 256]; เข้าถึงได้ จาก: https://he01.tci-thaijo.org/ index.php/ jdpc7kk/ article/view/ 260407/180055

ขนิษฐา ชื่นใจ และ บุฏกา ปัณฑุรอัมพร. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจฉีดวัคซีนป้องกันโคโรนาไวรัส(Covid-19) ของประชากรในกรุงเทพมหานคร. [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 27 พ.ค 256]; เข้าถึงได้ จาก: https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/

ณิชากร ขำทัพ.ผลลัพธ์ของการดำเนินงานการให้บริการวัคซีนโควิด 19 ในอำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 31 ม.ค 2567];เข้าถึงได้จากhttp://www.tako.moph.go.th/librarybook/web/files/6be10486be76ab8007a000e9bf73eb61.pdf

วิชุดา วิวัฒนเจริญ การสํารวจการยอมรับวัคซีนป้องกันโควิด19และป้จจัยที่มีผลต่อการยอมรับวัคซีน ป้องกันโควิด19 ในหญิงตั้งครรภ์ที่รับบริการฝากครรภ์ในคลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาล สารภี จ.เชียงใหม่. [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 31 ม.ค 2567]; เข้าถึงได้จาก https://www.chiangmaihealth.go.th

/document/ 231122170062364498.pdf

สนธยา ไสยสาลี บุษกร สุวรรณรงค, ดํารงค์ ก่องดวง, ธนูย์สิญจน์ สุขเสริม,สุรศักดิ์ ธรรมรักษ์เจริญ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019ของ ประชาชนตําบลสงเปลือยอําเภอนามนจังหวัดกาฬสิน.[อินเตอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 31 ม.ค 2567];

เข้าถึงได้จาก: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/dpcphs/article/view/263928/179099

สรรเสริญ อุ้ยเอ้ง.ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 เข็มกระตุ้น (เข็ม 3) ของผู้สูงอายุ ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสงขลา. [อินเตอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 31 ม.ค 2567]; เข้าถึงได้ จาก: https://www. skhospital.go.th/wp-content/uploads/2022/12/journal-20221223.pdf

จังหวัดเพชบุรณ์ คำสั่งจังหวัดเพชรบูรณ์ [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 31 ม.ค 2567]; เข้าถึงได้จาก: https://www.banrai.go.th/news_detail.php?hd=2&doIP=1&checkIP=chkIP&id=23658&checkAdd=chkAddum=85989ypk

ศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชิ้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid 19) หรือ (ศบค.). ข้อมูลสถิติผู้ติดเชื้อโควิด-19. [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่ 13 ก.ย 2564]; เข้าถึงได้จาก: https://www. youtube.com/watch?v=fxQF9qDY9Mo

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเพขรบูรณ์. สถานการณ์ผู้ป่วย COVID-19 จังหวัดเพชรบูรณ์ ณ 31 สิงหาคม 2564.[อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อวันที่13 ก.ย 2564]; เข้าถึงได้จาก: https://www.facebook.com/Phetchabunhealth/photos