ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังการติดเชื้อ โรคไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19 ) ในเขตพื้นที่ตำบลลอ อำเภอจุน จังหวัดพะเยา

Main Article Content

รสกมล บุญเติม
ทวีวรรณ ศรีสุขคำ

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบภาคตัดขวางเพื่อหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังการติดเชื้อโรคโควิด-19 ในพื้นที่ตำบลลอ  อำเภอจุน  จังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้ป่วยภายหลังการติดเชื้อโรคโควิด-19 จำนวน 276 คน ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน.  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถาม ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2566 – 30 มิถุนายน 2566.  การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ โดยวิธี Enter


ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 69.20 มีอายุเฉลี่ย 51.80 ปี. ร้อยละ 73.60% มีอาการหลงเหลือ อาการเมื่อยล้าพบมากที่สุด ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังการติดเชื้อโรคโควิด-19 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ด้านความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Beta =0.288) ด้านการรับรู้ถึงอุปสรรค (Beta=0.177) ด้านการรับรู้ความสามารถของตนเอง(Beta =0.241) ด้านความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม(Beta =-0.118) และด้านอิทธิพลระหว่างบุคคล (Beta =0.229 ตัวแปรทั้งหมดนี้สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังการติดเชื้อโรคโควิด-19 ได้ ร้อยละ 57.60. ผลที่ได้ควรนำไปประยุกต์ในการจัดโปรแกรมการสร้างเสริมสุขภาพของผู้ป่วยภายหลังการติดเชื้อโรคโควิด-19 ในพื้นที่ศึกษาต่อไป

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

World Health Organization. WHO Coronavirus (COVID-19) Dashboard [อินเตอร์เน็ต]. 2564 [เข้าถึงเมื่อ 10 สิงหาคม 2564].เข้าถึงได้จาก https://covid19.who.int/

กรมควบคุมโรค.กระทรวงสาธารณสุุข.สถานการณ์ผู้ติดเชื้้อไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศไทย [อินเตอร์เน็ต].2565 [เข้าถึงเมื่อ10 ส.ค. 2565]. เข้าถึงได้จาก https://ddc.moph.go.th/covid19-dashboard//

วิชญ์ จอมวิญญาณ์, ศริยา อินทสิน, ลภัสรดา อู่เจริญ. ภูมิศาสตร์กับการระบาดของโควิด 19 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.2565; 10(1): 1-14.

จารุวรรณ รุ่งเรืองและทวีวรรณ ศรีสุขคำ. อาการหลงเหลือหลังติดเชื้อโควิด-19 และพฤติกรรมการจัดการตนเองของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่่ติดเชื้้อโควิด-19 อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน.วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี. 2566; 21(1) :37-51.

Aiyegbusi, O. L., Hughes, S. E., Turner, G., Rivera, S. C., McMullan, C., Chandan, J. S., . . .Calvert., M. J. (2021). Symptoms, complication and management of long COVID: A review. Journal of Royal Society of Medicine, 114(9), 428-442. doi: 10.1177/01410768211032850

Jacobs J, Kühne V, Lunguya O, Affolabi D, Hardy L, Vandenberg O. Implementing COVID-19 (SARS-CoV-2) Rapid Diagnostic Tests in Sub-Saharan Africa: A Review. Front Med (Lausanne). 2020 Oct 30;7:557797. doi: 10.3389/fmed.2020.557797. PMID: 33195307; PMCID: PMC7662157.

สาวิตตรี เติกคําและทวีวรรณศรีสุขคํา.อาการหลงเหลือหลังติดเชื้อโควิด-19และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยที่เคยติดเชื้อโควิด-19ในตําบลครึ่งอําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย. วารสารวิชาการป้องกันควบคุมโรคสคร.2 พิษณุโลก. 2566; 10(2):49-66.

ลัดดาวัลย์ ดาราศร, นิตยา เพ็ญศิรินภา, พาณี สีตกะลิน.ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยระดับบุคคลและ ปัจจัยระดับองค์กรกับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของกำลังพลสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม.วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน. 2564;7(2):132-144.

แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์(ปรับปรุง ค.ศ.2002) “Health Promotion in Nursing practice”(4th ed.).(p.60) by Pender,N.J.,Murdaugh,C.L., & Parsons,M.A.,2002, New Jersey: Prentice Hall.

ดลนภา ไชยสมบัติ และนันทิกา อนันต์ชัยพัทธนา. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ของประชาชนก่อนวัยผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 2563; 30(1):135-147

รมย์รัศมิ์ พัชรพงศ์พรรณ และอรชุลี นิราศรพ. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการเรียนออนไลน์ รายวิชา HED 1101การสร้างเสริมสุขภาพเพื่อชีวิตในสถานการณ์โควิด-19 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง. วารสารสหวิทยาการวิจัยและวิชาการ. 2565; 2(4): 257-274.

พรรทิพย์ ขัดทรายขาว.ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพตามหลัก 3อ. 2ส.ของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์. 2565; 16(2): 173-191.

จริยา ทรัพย์เรือง, บุบผา วิริยรัตนกุล, พัชรินทร์ สังวาล.ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้รับบริการกลุ่มวัยทำงานที่มีภาวะเมตาบอลิกซินโดรม.วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ. 2564;6(8):387-399.

กรวิกา พรมจวง, เกียรติศักดิ์แซ่อิว, สิตานันท์ จันทร์โต.ปัจจัยทํานายพฤติกรรมการส่งเสริม สุขภาพของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก. 2564; 32(2):233-246.

คุณัสปกรณ์ มัคคัปผลานนท์,วรพนิต ศุกระแพทย์,จิราภรณ์ เพียรประสิทธิ์,ปุณฑรี พิกุลณี และปราโมทย์ ถ่างกระโทก. ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโรงเรียนผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก. 2563; 31(2):127-141.

เจิดนภา แสงสว่าง,บังอร ศุภวิทิตพัฒนา และพรรณพิไล ศรีอาภรณ์. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของมารดาวัยรุ่น.พยาบาลสาร. 2562; 46(4):59-69.

รัตนาภรณ์ ตามเที่ยงตรง,ศิริวรรณ แสงอินทร์และวรรณี เดียวอิศเรศ.ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพด้านโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.2560;25(1):49-60.

อลงกรณ์สุขเรืองกูล, ทวีลักษณ์ วรรณฤทธิ์, ประทับจิต บุญสร้อย และพโรจน์ อุตศร. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของพระสงฆ์ในจังหวัดเชียงราย.พยาบาลสาร.2560; 44(2):38-48.

Qu G, Zhen Q, Wang W, Fan S, Wu Q, Zhang C, Li B, Liu G, Yu Y, Li Y, Yong L, Lu B, Ding Z, Ge H, Mao Y, Chen W, Xu Q, Zhang R, Cao L, Chen S, Li H, Zhang H, Hu X, Zhang J, Wang Y, Zhang H, Liang C, Sun L, Sun Y. Health-related quality of life of COVID-19 patients after discharge: A multicenter follow-up study. J Clin Nurs. 2021 Jun;30(11-12):1742-1750. doi: 10.1111/jocn.15733. Epub 2021 Mar 17. PMID: 33656210; PMCID: PMC8013595.

เบญจวรรณ สอนอาจ, นพพร จันทรนาชู, พรรณ์ธิดา เหล่าพวงศักดิ์. แนวทางการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของประชากรวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University. 2565; 46(4):1-16

Bandura A (1986). Social foundations of thought and action: a social cognitive theory / Albert Bandura. In: Prentice-Hall Series in Social Leanning Theory. Prentice-Hall.

Van den Broucke S. Why health promotion matters to the COVID-19 pandemic, and vice versa. Health Promot Int. 2020 Apr 1;35(2):181-186. doi: 10.1093/heapro/daaa042. PMID: 32297931; PMCID: PMC7184433.

ศิราวัลย์ เหรา และวิจิตรา ปัญญาชัย. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ตำบลนาจักร อำเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 2565; 32(3): 80-93.

Padam Simkhada, Preeti Mahato, Pasang Tamang, Edwin van Teijlingen, and Prakash Shahi. The Role of Health Promotion during the COVID-19 Pandemic .November 2020 Journal of Health Promotion 8:1-4 DOI:10.3126/jhp.v8i0.32964

บุญประจักษ์ จันทร์วิน และวัลลภา ดิษสระ.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการออกกำลังกายของประชาชนวัยทำงานจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 2560; 11(3):1-9