ผลการพัฒนาคลินิกดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและ กัญชาทางการแพทย์โรงพยาบาลจุนจังหวัดพะเยา

Main Article Content

กิตติวัฒน์ กันทะ
สมบัติ กาศเมฆ
นิภาพร ใจบาน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบพรรณาภาคตัดขวาง ผลการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและกัญชาทางการแพทย์โรงพยาบาลจุน ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม 2563-30 มิถุนายน 2564 กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยคลินิกดูแลแบบประคับประคองและกัญชาทางการแพทย์ จำนวน 40 ราย เป็น เพศชาย 19 ราย และ เพศหญิง 21 ราย ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย อายุเฉลี่ย 66.1 ปี (SD 12.88)  เป็นผู้ป่วยมะเร็งจำนวน 32 ราย ไม่ใช่มะเร็ง 8 ราย ผู้ป่วยส่วนใหญ่ น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ BMI < 18.5 20 ราย  PPS score > 60 25 ราย  เคยใช้น้ำมันกัญชามาก่อน 11 ราย ใช้น้ำมันกัญชา THC oil 1.7% อภัยภูเบศร ที่คลินิก 14 ราย เป็นผู้ป่วยแบบประคับประคองระยะสุดท้าย 11 ราย เข้าถึงบริการ Advance care plan 36 ราย ใช้ Morphine ลดอาการปวด 16 ราย ของผู้มีอาการปวด ใช้ Morphine ร่วมกับน้ำมันกัญชา 5 ราย หลังเข้าคลินิกสามารถลดอาการปวดหลังปรับยาโดยใช้ Visual analogue scale จากคะแนน 8.9 เหลือ 2.95 (P-value <0.008) เกิดผลข้างเคียงที่ต้องหยุดใช้น้ำมันกัญชา 1 ราย จาก Cannabis induced psychosis จากการวิจัยนี้ การจัดบริการคลินิกดูแลผู้ป่วยแบบปรับประคองและกัญชาทางการแพทย์ มีประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย สามารถลดความทุกข์ทรมานจากอาการปวดและสามารถนำน้ำมันกัญชา THC Oil 1.7 % อภัยภูเบศร มาเป็นทางเลือกร่วมในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองได้ 

Article Details

บท
บทความวิชาการทั่วไป

References

ฐิติมา ปลื้มใจ.รูปแบบการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองในโรงพยาบาลสงขลา.วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า.2563;3(1):73-94.

นฤมล ศิริรัตนพงศ์ธร.การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก.วารสารพยาบาลทหารบก.2560;18(2) :221-228.

World Health Organization. Planning and implementing palliative care services: A guide for programme managers. Geneva: World Health Organization.2016.

กรมการแพทย์. แนวทางการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย. นนทบุรี : กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข; 2557.

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข. สถิติสาธารณสุข พ.ศ.2558. กรุงเทพฯ: สามเจริญ.2559.

ข้อมูลสถิติผู้ป่วยมะเร็ง งานฝ่านแผนและพัฒนาโรงพยาบาลจุน ปีงบประมาณ 2563.

พิกุล นันทชัยพันธ์, และประทุม สร้อยวงค์. แนวปฏิบัติการพยาบาลทางคลินิก: การดูแลแบบประคับประคองในผู้ป่วยผู้ใหญ่ (พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี: สภาการพยาบาลและสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยฯ.2558

พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562.ราชกิจจานุเบกษา 18 กุมภาพันธ์ 2562 หน้า 1-16.

Guzmán M. Cannabis for the Management of Cancer Symptoms: THC Version 2.0. Cannabis Cannabinoid. 2018;3(1):117-119.

ดาริน จตุรภัทรพร. วิธีการประเมินความสามารถในการช่วยเหลือตัวเองของผู้ป่วยโดยใช้ Palliative Performance Scale (PPS) ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 1 มิถุนายน 2564]. เข้าถึงได้จาก:http://med.mahidol.ac.th/fammed/th/postgrad/doctor palliative3th.

Chewaskulyong B, Sapinun L, Downing GM, Intaratat P, Lesperance M, Leautrakul S, et, al. Reliability and validity of the Thai translation (Thai PPS Adult Suandok) of the Palliative Performance Scale (PPSv2). Palliative Medicine. 2012 Dec;26(8):1034-41.

Sherry A. Greenberg, PhD. Palliative Performance Scale (PPSv2) version 2. Medical Care of the Dying, Victoria Hospice Society, 2006. 4thed.; p.121.

Tramer MR. Cannabinoids for control of chemotherapy induced nausea and vomiting: quantitative systematic. BMJ. 2001;323(7303):16-16.

Ware1 MA, Daeninck P, Maida V. A review of nabilone in the treatment of chemotherapy induced nausea and vomiting. Ther Clin Risk Manag. 2008;4(1):99-107.

Haroutounian S, Ratz Y, Ginosar Y, Furmanov K, Saifi F, Meidan R, DavidsonE.The effect of medicinal cannabis on pain and quality-of-life outcomes in chronic pain: A Prospective Open-label Study. The Clinical journal of pain. 2016;32(12):1036-43.

Luftner D, et al. Comparison of orally administered cannabis extract and delta-9-tetrahydrocannabinol in treating patients with cancer-related anorexia-cachexia syndrome: a multicenter, phase III, randomized, doubleblind, placebo-controlled clinical trial from the Cannabis-In-Cachexia-Study-Group. J Clin Oncol Off J Am Soc Clin Oncol. 2006;24(21):3394-3400.

Guindon J, Hohmann AG. The endocannabinoid system and cancer: therapeutic implication. Br J Pharmacol. 2011;163(7):1447-1463.

Velasco G, Sánchez C, Guzmán M. Towards the use of cannabinoids as antitumour agents. Nat Rev Cancer. 2012;12(6):436-444.

Hermanson DJ, Marnett LJ. Cannabinoids, Endo cannabinoids, and Cancer. Cancer Metastasis Rev. 2011;30(3-4):599-612.

Guzmán M, Duarte MJ, Blázquez C, et al. A pilot clinical study of Delta9tetrahydrocannabinol in patients with recurrent glioblastoma multiforme. Br J Cancer. 2006;95(2):197-203.