การศึกษาเปรียบเทียบการใช้กับดักไข่ยุงลายและการสำรวจลูกน้ำยุงลาย เพื่อการเฝ้าระวังยุงลายพาหะนำโรคในพื้นที่อาคารชุด

Main Article Content

พรพิมล ประดิษฐ์
บุษราคัม สินาคม
ขนิษฐา ปานแก้ว
อมรรัตน์ อ่อนตา
บุญเสริม อ่วมอ่อง

บทคัดย่อ

การศึกษาการเฝ้าระวังยุงลายโดยใช้กับดักไข่ยุงลาย AMHS และสำรวจลูกน้ำยุงลาย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาชนิดของยุงลาย ระดับความสูงของอาคารชุดที่ยุงลายสามารถขึ้นไปวางไข่  เปรียบเทียบการนับไข่ยุงลายโดยใช้แอปพลิเคชันและกล้องจุลทรรศน์สเตอริโอ และเปรียบเทียบการเฝ้าระวังยุงลายโดยการสำรวจลูกน้ำยุงลายกับการใช้กับดักไข่ยุงในอาคารชุดศุภาลัย ปาร์ค แยกติวานนท์ จังหวัดนนทบุรี ผลการสำรวจลูกน้ำยุงลายพบยุงลายบ้าน Aedes aegypti และจากการวางกับดักไข่ยุงพบไข่ยุงลายภายในอาคารบริเวณพักอาศัย ชั้นสูงสุดที่พบ คือ ชั้น 21 และชั้นสูงสุดภายนอกอาคารที่พบ คือ ชั้น 22 เมื่อเปรียบเทียบการเฝ้าระวังยุงลายโดยการใช้กับดักไข่ยุงกับการสำรวจลูกน้ำยุงลาย พบว่าการใช้กับดักพบยุงลายมากกว่าการสำรวจลูกน้ำยุง (p-value = 0.010) เมื่อเปรียบเทียบจำนวนไข่ยุงลายที่นับได้จากแอปพลิเคชันและกล้องจุลทรรศน์สเตอริโอพบจำนวนไข่ยุงลายที่นับจากแอปพลิเคชันมีจำนวนมากกว่าการใช้กล้องจุลทรรศน์สเตอริโอ (p-value < 0.001) แต่การนับไข่ยุงโดยใช้กล้องจุลทรรศน์สเตอริโอจะมีความถูกต้องและแม่นยำกว่าการใช้แอปพลิเคชัน ข้อเสนอแนะควรศึกษาการใช้กับดักไข่ยุงลาย AMHS เพื่อเฝ้าระวังยุงลายในชุมชนพักอาศัย และพัฒนากับดักไข่ยุงลายเพื่อใช้ป้องกันควบคุมโรคติดต่อนำโดยยุงลาย

Article Details

บท
บทความวิชาการทั่วไป

References

เอกสารอ้างอิง
1. กรมควบคุมโรค. รายงานพยากรณ์โรคไข้เลือดออก ปี 2563. นนทบุรี: กองโรคติดต่อนำโดยแมลง; 2563.
2. กองโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค. รายงานประจำปี 2562. นนทบุรี: กองโรคติดต่อนำโดยแมลง; 2562.
3. สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค. คู่มือวิชาการโรคติดเชื้อเดงกีและโรคไข้เลือดออกเดงกีด้านการแพทย์และสาธารณสุข. อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2558.
4. สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค. คู่มือการเฝ้าระวังพาหะนำโรค. นนทบุรี: สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง; 2559.
5. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. ลีโอแทรป นวัตกรรมกำจัดไข่และลูกน้ำยุงลาย. นนทบุรี: หนังสือดีวัน; 2560.
6. One Team Networks Sdn Bhd [Internet]. Malaysia. Aedestech Mosquito Home Systems; [cited 2020 Sep 27]. Available from: https://onedream.n.my/index.php?ws=showproducts&products_id=1010579
&cat=Mosquito-Trap#openproducts
7. Rattanarithikul R, Halbach RE, Harrison BA, Panthusiri P, Coleman RE, Richardson JH. Illustrated keys to the Mosquitoes of Thailand VI. Tribe Aedini. Southeast Asian J Trop Med Public Health 2010; 41:1-38.

8. USAID. ZAP - The Zika AIRS Project. Protocol for the use of ovitraps for the surveillance of Aedes aegypti mosquitoes [Internet]. [cited 2020 Nov 29]. Available from: http://www.africairs.net/wp-content/uploads/2019/08/Ovitrap-surveillance_ZAP-finalprotocol_English.pdf.
9. Dibo MR, Chiaravalloti-Neto F, Battigaglia M, Mondini A, Favaro EA, Barbosa AA, et al. Identification of the best ovitrap installation sites for gravid Aedes (Stegomyia) aegypti in residences in Mirassol, state of São Paulo, Brazil. Mem Inst Oswaldo Cruz, Rio de Janeiro 2005;100:339-43.
10. สุวิช ธรรมปาโล, วริชั วงศ์หิรัญรัชต์, โสภาวดี มูลเมฆ, วาสนิ ศรีปล้อง. แหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายสวนในพื้นที่ระบาดของโรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา). วารสารโรคติดต่อนำโดยแมลง 2553;2:7-15.
11. Eapen A, Ravindran KJ, Dash AP. Breeding potential of Aedes albopictus (Skuse, 1895) in chikungunya affected areas of Kerala, Indian J Med Res 2010;132:733-5.
12. Chareonviriyaphap T, Akratanakul P, Nettanomsak S, Huntamai S. Larval habitats and distribution patterns of Aedes aegypti (Linnaeus) and Aedes albopictus (Skuse), in Thailand. Southeast Asian J Trop Med Public Health 2003; 34:529-35.
13. Hamid NA, Mohd Noor SN, Isa NR, Rodzay RM, Effendi AMB, Hafisool AA, et.al. Vertical Infestation Profile of Aedes in Selected Urban High-Rise Residences in Malaysia. Trop Med Infect Dis 2020; 114:1-11.
14. สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค. การใช้เครื่องพ่นสำหรับผู้ปฏิบัติการเพื่อป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี; 2560.
15. Wan-Norafikah O, Nazni WA, Noramiza S, Shafa’ar-Ko’ohar S, Azirol-Hisham A, Nor-Hafizah R, et al. Vertical dispersal of Aedes (Stegomyia) spp. in high-rise apartments in Putrajaya, Malaysia. Trop Biomed 2010; 27:662-7.
16. Lau KW, Chen CD, Lee HL, Izzul AA, Asri-Isa M, Zulfadli M, et al. Vertical distribution of Aedes mosquitoes in multiple storey buildings in Selangor and Kuala Lumpur, Malaysia. Trop Biomed 2013; 30:36–45.
17. Jayathilake THD, Wickremasinghe MB, Silva NK. Oviposition and vertical dispersal of Aedes mosquitoes in multiple storey buildings in Colombo district, Sri Lanka. J Vector Borne Dis 2015; 52:245-51.
18. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. ชีววิทยา นิเวศวิทยา และการควบคุมยุงในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ 4 (ฉบับปรับปรุง): หนังสือดีวัน; 2553.
19. Chadee DD. Observations on the seasonal prevalence and vertical distribution patterns of oviposition by Aedes aegypti (L.) (Diptera: Culicidae) in urban high-rise apartments in Trinidad, West Indies. J Vector Ecol 2004; 29:323–30.
20. Zhaki ZA, Dom NC, Alhothily IA. Study on the Distribution and Abundance of Aedes aegypti and Aedes albopictus in Different Environment Settings for HighRise Buildings. Mal J Med Health Sci 2019; 15:91-8.
21. World Health Organization. Comprehensive Guidelines for Prevention and Control of Dengue and Dengue Hemorrhagic Fever [Internet]. Revised and expanded edition. India; 2011 [cited 2020 Dec 11]. Available from: https://apps.who.int/iris/handle/ 10665/204894.
22. กองโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค. สถานการณ์โรคตดิต่อนำโดยยุงลาย และการประเมินความเสี่ยงต่อการระบาดในปี 2564 [อินเทอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 13 ธ.ค. 2563]. เข้าถึงได้จาก: http://www.bangrieang.go.th/files/com_networknews/2021-01_3f78c01cf030a43.pdf.
23. Nascimento KLC, Silva JFM, Zequi JAC, Lopes J. Comparison Between Larval Survey Index and Positive Ovitrap Index in the Evaluation of Populations of Aedes (Stegomyia) aegypti (Linnaeus, 1762) North of Paraná, Brazil. Environ Health Insights 2020; 14:1-8. doi: 10.1177/1178630219886570.
24. Resende MC, Silva IM, Ellis BR, Eiras AE. A comparison of larval, ovitrap and MosquiTRAP surveillance for Aedes (Stegomyia) aegypti. Mem Inst Oswaldo Cruz, Rio de Janeiro 2013;108:1024-30.
25. World Health Organization. Report of the fourth WHOPES working group meeting. Review of IR3535, KBR3023, (RS)-methoprene 20% EC and pyriproxyfen 0.5% GR. [Internet]. Geneva: World Health Organization; 2000 [cited 2020 Dec 26]. Available from: https://apps.who.int/iris/handle/10665/66683.
26. Sihuncha M, Zamora-Perea E, Orellana-Rios W, Stancil JD, Pez-Sifuentes V, Vidal-Ore´ C, et al. Potential Use of Pyriproxyfen for Control of Aedes aegypti (Diptera: Culicidae) in Iquitos, Peru. J Med Entomol 2005; 42:620-30.
27. Hustedt JC, Boyce R, Bradley J, HI J, Alexander N. Use of pyriproxyfen in control of Aedes mosquitoes: A systematic review. PLoS Negl Trop Dis 2020;14: e0008205. doi: 10.1371/journal.pntd.0008205.
28. Yazan LS, Paskaran K, Gopalsamy B, Majid RA. Aedestech Mosquito Home System Prevents the Hatch of Aedes Mosquito Eggs and Reduces its Population. Pertanika J Sci Technol 2020; 28:263-78.