ภาวะสุขภาพจิตของผู้ป่วยกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืด มัยโอฟาสเชี่ยล

Authors

  • ธนินทร สมนึก กลุ่มงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลตำรวจ

Keywords:

สุขภาพจิต, กลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดมัยโอฟาสเชี่ยล, ความชุก, mental health, myofascial pain syndrome, prevalence

Abstract

Mental Health of Patients with Myofascial Pain Syndrome

Somnuk T.

Department of Rehabilitation Medicine, Police General Hospital

Objective: To investigate mental health and associated factors in patients with myofascial pain syndrome (MPS). Study design: Cross-sectional descriptive study

Setting: Rehabilitation Medicine out-patient clinic, Police General Hospital

Subjects: One hundred and forty eight patients with MPS who attended at Rehabilitation out-patient clinic, Police General Hospital.

Methods: Patients were asked to complete 2 questionnaires, a demographic record form and the General Health Questionnaire (GHQ-28), Thai version. The GHQ-28 score equal or more than 6 indicated mental disorder.

Results: There were 58 patients (39.19%) who had the GHQ-28 score equal or more than 6, indicating mental disorder. Those with mental disorder experienced that pain affected their works and daily activity functions. The effect of pain that interfered daily activity functions (including housework and exercise) was the only factor that related with mental disorder (p

Conclusion: The prevalence of mental disorder, determined by the GHQ-28, among MPS patients was 39.19%. Limitation of daily activities (including housework and exercise) by pain was the only factor relating with mental disorder

 

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อสำรวจภาวะสุขภาพจิตของผู้ป่วยกลุ่มอาการ ปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดมัยโอฟาสเชี่ยลและวิเคราะห์หา ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหาสุขภาพจิตกับปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ และผลกระทบของอาการปวดต่อการทำงานและการดำเนิน ชีวิตประจำวัน

รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง สถานที่ทำการวิจัย: กลุ่มงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาล ตำรวจ

กลุ่มประชากร: ผู้ป่วยนอกที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นกลุ่มอาการ ปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดมัยโอฟาสเชี่ยล จำนวน 148 ราย

วิธีการศึกษา: คัดกรองภาวะสุขภาพจิตโดยให้ผู้ป่วยตอบแบบ สอบถาม GHQ-28 ฉบับภาษาไทยด้วยตนเอง หาความชุกปัญหา สุขภาพจิตและความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ ของผู้ป่วยกับ ปัญหาสุขภาพจิต

ผลการศึกษา: ร้อยละ 39.19 ของผู้ป่วยมีปัญหาสุขภาพจิต เมื่อ เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มที่ไม่มีปัญหาสุขภาพจิตกับกลุ่มที่มี ปัญหาพบว่าปัจจัยที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p

สรุป : ผู้ป่วยกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืดมัยโอฟาส เชี่ยล มีความชุกของปัญหาสุขภาพจิตเท่ากับร้อยละ 39.19 และ ปัญหาสุขภาพจิตสัมพันธ์กับผลกระทบของอาการปวดต่อการ ทำกิจวัตรประจำวันรวมการทำงานบ้านและการออกกำลังกาย

Downloads