การศึกษานำร่องการวินิจฉัยภาวะ Small Nerve Fiber Involvement ในผู้ป่วยที่มีอาการชามือโดยการตรวจด้วย Quantitative Sensory Testing

Authors

  • ชนินทร หริการภักดี ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
  • วารี จิรอดิศัย ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

Keywords:

ใยประสาทขนาดเล็ก, การตรวจปริมาณความรู้สึก, อาการชา, มือ, small nerve fiber, quantitative sensory testing, hand, numbness

Abstract

Pilot Study of Quantitative Sensory Testing to Detect Small Nerve Fiber Involvement in Patients with Numbness of Hands

Harikarnpukdee C, Chira-Adisai W

Rehabilitation Medicine Department, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University

Objectives: To detect small nerve fiber involvement using quantitative sensory testing in patients with numbness of hands and normal electrodiagnostic study.

Study design: Pilot study

Setting: Electrodiagnostic room, Ramathibodi hospital.

Subjects: Patients with numbness of hands and normal electrodiagnostic study and normal persons as a control group.

Methods: Quantitative sensory testing using a Medoc TASII neurosensory analyzer for cold sensation threshold (CST) and warm sensation threshold (WST) was performed in the patient and the control groups Results of CST and WST from both groups were then compared.

Results: Twelve hands of the patient group (8 females) and eight subjects for the control group were recruited. The average age of the patients was 51.44 (SD 7.82) years and 37.38 (SD 10.10) years for the control group. The duration of symptoms was 5.33 (SD 4.69) months. In the patient group, medians (interquartile range) of temperature changes to reach CST and WST were 5.30 (2.60 to 8.37) and 4.40 (2.82 to 5.92) degree Celsius, and in the control group were 2.65 (1.15 to 3.40) and 1.60 (1.30 to 4.47) degree Celsius, respectively. The cold and warm sensation threshold were different significantly between the two groups (P<0.05).

Conclusion: Quantitative sensory testing revealing higher CST and WST may imply dysfunction of small nerve fibers in patients with numbness of hands and normal electrodiagnostic study.

 

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์: เพื่อตรวจหาภาวะใยประสาทขนาดเล็กผิดปกติ ในผู้ป่วยที่มีอาการชามือและการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัยปกติ โดยการตรวจด้วย quantitative sensory testing (QST)

รูปแบบการวิจัย: การศึกษานำร่อง

สถานที่ทำการวิจัย: ห้องตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย โรงพยาบาล รามาธิบดี

กลุ่มประชากร: ผู้ป่วยที่มีอาการชาปลายมือและการตรวจ ไฟฟ้าวินิจฉัยปกติ 9 คน จำนวน 12 มือ

วิธีการศึกษา: ทำการตรวจ QST ด้วยเครื่องยี่ห้อ Medoc รุ่น TAS-II Neurosensory analyzer เพื่อตรวจ ระดับความรับรู้ สึกเย็น (cold sensation threshold, CST) และอุ่น (warm sensation threshold, WST) ในผู้ป่วยที่มีอาการชาปลายมือ และการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัยปกติ และเปรียบเทียบกับกลุ่ม ควบคุม

ผลการศึกษา: กลุ่มผู้ป่วย 9 คน จำนวน 12 มือ เพศหญิง 8 คน อายุเฉลี่ย 51.44 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.82) ปี ระยะ เวลาที่มีอาการชามือเฉลี่ย 5.33 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.69) เดือน และกลุ่มควบคุมจำนวน 8 คน อายุเฉลี่ย 37.38 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 10.10) ปี พบว่าในกลุ่มผู้ป่วยระดับ อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงจนถึง CST และ WST มีค่ากลาง (interquartile range) คือ 5.30 (2.60-8.37) และ 4.40 (2.82- 5.92) องศาเซลเซียส สำหรับกลุ่มควบคุม คือ 2.65 (1.15-3.40) และ 1.60 (1.30-4.47) องศาเซลเซียส ตามลำดับ โดยมีความ แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (pสรุป: การตรวจ quantitative sensory testing ในกลุ่มผู้ป่วย ที่มีอาการชามือและผลการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัยปกติ มี CST และ WST สูงขึ้น อาจบ่งบอกว่ามีภาวะความผิดปกติของการทำงาน ของระบบการรับความรู้สึกเนื่องจากใยประสาทขนาดเล็ก

 

Downloads

Issue

Section

Original Article