ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์กับองค์ประกอบ ในการได้รับการรับรองมาตรฐานสากล
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์กับองค์ประกอบในการได้รับการรับรองมาตรฐานสากล JCI ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพของโรงพยาบาลที่ผ่านการรับรอง JCI กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงานอย่างน้อย 1 ปีในโรงพยาบาลที่ผ่านการรับรอง JCI จำนวน 288 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลแบบสอบถามการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ แบบสอบถามองค์ประกอบในการได้รับการรับรองมาตรฐานสากล JCI ทดสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยคำนวณจากสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคของแบบสอบถามส่วนที่ 2 และ3 เท่ากับ 0.80 และ 0.98 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดย การแจกแจงความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียรสันผลการวิจัย พบว่า1. ระดับของการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.39, SD. = 0.46 )2. องค์ประกอบในการได้รับความสำเร็จได้รับการรับรองมาตรฐานสากล JCI โดยรวมอยู่ในระดับมาก( = 4.60, SD. = 0.41)3. ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์กับองค์ประกอบในการได้รับการรับรองมาตรฐานสากล JCI ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพของโรงพยาบาลที่ผ่านการรับรอง JCI มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ( r = .626 ,p < .01 )
Article Details
References
ระหว่างโรงพยาบาลเอกชนในเขตกรุงเทพและ
ปริมณฑล : เพื่อการวางแผนนโยบาย. จุฬาลงกรณ์
เวชสาร, 42 (3),157-172.
ชัยวัช โซวเจริญสุข. (2556). ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชน.
สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2558, จาก http://www.
lhbank.co.th.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). พฤติกรรมองค์การ.
กรุงเทพฯ :วี.พริ้น.
ทิพย์วรรณ จูมแพง กุหลาบ รัตนสัจธรรม และ วัลลภ
ใจดี. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จ
ในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ตามการรับรู้ของบุคคลากรในหน่วยงานระดับเขต
กระทรวงสาธารณสุข. วารสารสาธารณสุข
มหาวิทยาลัยบูรพา,7 (2),39-52.
บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2551). ภาวะผู้นำและกลยุทธ์
การจัดการองค์การพยาบาลในศตวรรษที่ 21.
(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:โรงพิมพแ์ หง่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปัณรส มาลากุล ณ อยุธยา. (2554). การพัฒนาระบบ
ราชการไทย การพัฒนาองค์การและการสร้าง
องค์การที่เรียนรู้. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน 2558,
จาก http//km.moi.go.th/images/stories/general.
ปิยะชัย จันทรวงศ์ไพศาล. (2554). การบริหารมุ่งผล
สัมฤทธิ์. กรุงเทพฯ : บ้านหนังสือโกสินทร์.
พรทิพย์ ชมเดช. (2550). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความ
สำเร็จในการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
ภาครัฐ : กรณีศึกษา กรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสุข. วิทยานิพนธ์ รป. ม., มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมธิราช, นนทบุรี.
เยาวภา ปฐมศิริกุล. (2554). แบบจำลองปัจจัยความสำเร็จ
การจัดการธุรกิจบริการสุขภาพของโรงพยาบาล
เอกชนในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ,
34 (130), 15-35.
โรงพยาบาลบำรุงราษฏร์ อินเตอร์เนชั่นแนล.(2554).
โรงพยาบาลเอกชนแห่งแรกในประเทศไทย
ที่ได้รับรางวัลการบริหารสู่ความเป็นเลิศ
Thailand Quality. สืบค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์
2558, จาก http://www.bumrungrad.com/tqc/
วรลักษณ์ ราชกุล. (2556). กระบวนการบริหารแบบ
มุ่งผลสัมฤทธิ์ของโรงพยาบาลสวนปรุง.
วิทยานิพนธ์ รป.ม., มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,
เชียงใหม่.
สำนักการพยาบาล. (2554). การประกันคุณภาพการ
พยาบาล:การประเมินคุณภาพการบริการพยาบาล
ผู้ป่วยนอก. กรุงเทพฯ: สามเจริญพาณิชย์.
กองสถิติสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
(2547). สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2547. กรุงเทพฯ :
สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข.
อุมาภรณ์ บุญเปี่ยม. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการ
บริหารจัดการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์กับคุณภาพ
บริการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ
โรงพยาบาลศูนยใ์ นเครือขา่ ยบริการที่ 2. วิทยานิพนธ์
พย.ม., มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก.