ความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นของการทดสอบวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบซ้าเที่ยวที่แตกต่างกัน 3 รูปแบบ ในนักกีฬาฟุตบอล
คำสำคัญ:
Anaerobic Fitness / Repeated sprint ability test / soccer, สมรรถภาพด้านแอนแอโรบิค / การทดสอบวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบซ้าเที่ยว / กีฬาฟุตบอลบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นจากการทดสอบวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบซ้าเที่ยวที่แตกต่างกัน 3 รูปแบบในนักกีฬาฟุตบอล กลุ่มตัวอย่างเป็นนักกีฬาฟุตบอลชายโรงเรียนกีฬากรุงเทพมหานคร ทุ่งครุ รุ่นอายุ ไม่เกิน 16-18 ปี จานวน 19 คน กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดทาการทดสอบสมรรถภาพด้านแอนแอโรบิคในห้องปฏิบัติการโดยวิธี Wingate test และทาการทดสอบภาคสนามโดยการวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบซ้าเที่ยว 3 รูปแบบ ซึ่งประกอบด้วย รูปแบบการวิ่งทางตรง (the repeated linear sprint test :RLST) รูปแบบการวิ่งไป-กลับ (the repeated shuttle sprint test: RSST) และรูปแบบการวิ่งหลายทิศทาง (the repeated multi-direction sprint test: RMST) เพื่อหาความเที่ยงตรงตามสภาพและแต่ละรูปแบบจะทาการทดสอบซ้าอีกครั้ง เพื่อวิเคราะห์หาความเชื่อมั่นของการทดสอบ โดยใช้สถิติ Pearson Product Moment Correlation Coefficient กาหนดความมีนัยสาคัญทางสถิติระดับ 0.05 ผลการวิจัยพบว่า การทดสอบวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบซ้าเที่ยวทั้ง 3 รูปแบบ มีความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่นสาหรับการประเมินสมรรถภาพแอนแอโรบิค โดยการทดสอบวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบซ้าเที่ยวรูปแบบการวิ่งทางตรง จะมีระดับความเที่ยงตรงมากที่สุด โดยมีค่าค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) ในการประเมินพลังอนากาศนิยม สมรรถถภาพอนากาศนิยม และดัชนีความล้า เท่ากับ -0.781 - 0.614 และ 0.604 ตามลาดับ และมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของความเชื่อถือได้จากวิธีการทดสอบซ้า (r) เท่ากับ 0.981 0.962 และ 0.949 ตามลาดับ ดังนั้น สรุปได้ว่าการทดสอบภาคสนามโดยการวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบซ้าเที่ยวทั้ง 3 รูปแบบ สามารถที่จะนามาใช้ทดสอบสมรรถภาพด้านแอนแอโรบิคสาหรับนักกีฬาฟุตบอลได้
(วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา 2561; 18(2): 48- 60)
คำสำคัญ : สมรรถภาพด้านแอนแอโรบิค / การทดสอบวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดแบบซ้าเที่ยว / กีฬาฟุตบอล
References
2. Bloomfield J. Polman R and O'Donoghue P. Physical demands of different positions in FA premier league soccer. J Sport Sci Med 2007;6(1):63-70.
3. Greg G. Completed Conditioning for soccer. Human Kinetic. Champiang, USA; 2009.
4. Christopher FG and Greggry F. Analysis of repeated high-intensity running performance in professional soccer. J Sports Sci 2012; 30(4):325-36.
5. Bishop D and Spencer M. Determinants of repeated-sprint ability in well-trained team-sport athletes and endurance-trained athletes. J Sport Med Phy Fit 2004; 44(3):1-7.
6. Rampinini E, Bishop D, Marcora SM, Bravo F and Impellizeri FM. Validity of simple field test as indicators of match related physical performance in top level professional soccer players. Int J Sport Med. 2007; 28:228-35.
7. Impellizzeri FM, Rampinini E, Castagna C, Bishop D, Ferrari D, Bravo D, Tibaudi A and Wisloff, U. Validity of A Repeated-sprint test for football. Int J Sports Med 2008; 29:899–905.
8. Bravo F, Impellizzeri FM, Rampinini E, Castagna C, Bishop D and Wisloff U. Sprint vs. interval training in football. Int J Sports Med. 2008; 29(8):668-874.
9. Buchheit M, Haydar B and Ahmaidi MS. Repeated sprints with directional changes: do angles matter. J Sports Sci. 2012; 30(6): 555-62.
10. Buchheit M,Mendez-Villanueva A, Delhomel A, Brughelli M and Ahmaidi S. Improving repeated sprint ability in young elite soccer players: Repeated shuttle sprints vs. explosive strength training. J Strength Cond Res 2010;24(10): 2715-22.
11. Fessi MS, Makni E, Jemni N, Elloumi M, Chamari K, Nabli MA, Padulo J, and Moalla W. Reliability and criterion-related validity of a new repeated agility test. Bio of Sport, 2015;33(2):159–64.
12. Cohen, J. Statistical power analysis for the behavioral sciences (2ndedition), Hillsdale.1988.
13. Haj-Sassi R, W. Dardouri, Z Gharbi, A Chaouachi, H Mansour, A Rabhi, Mahfoudhi ME. Reliability and validity of a new repeated agility test as a measure of anaerobic and explosive power”. J Strength Cond Res 2011; 25(2):472-80.
14. Inbar, O., Bar-Or O. and Skinner.J.S. The Wingate anaerobic test. Human Kinetics: Champaign, Illinois; 1996.
15. Power, K. S and Howley T.E. Exercise physiology: Theory and application to fitness and performance. 4th ed. McGraw-Hill Companies., New York; 2001.
16. Meckel Y, Machnai O. and Eliakim A. Relationship among repeated sprint tests, aerobic fitness and anaerobic fitness in elite adolescent soccer players. J Strength Cond Res 2009; 23(1):163-9.
17. Kirkendall DR, Gruber JJ and Johnson RE. Measurement and evaluation in physical education. WM. C. Brown, Iowa; 1980.