การเปรียบเทียบการประเมินความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุดโดยวิธีการไม่ออกกาลังกายและ วิธีการออกกาลังกายในเพศหญิงที่ไม่ใช่นักกีฬา
คำสำคัญ:
อัตราการใช้ออกซิเจน, การหาความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุด, การใช้ออกซิเจนบทคัดย่อ
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการทดสอบความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุดระหว่างการใช้โปรแกรมโพล่าฟิตเนสเทสผ่านทางนาฬิกาโพล่า RS800CX และวิธีการทดสอบรูปแบบของออสตรานด์ (Astrand method) โดยทาการศึกษาในกลุ่มอาสาสมัครเพศหญิงที่มีสุขภาพดีที่ไม่ใช่นักกีฬา จานวน 38 คน อายุเฉลี่ย 19.9±0.83 ปี ส่วนสูงเฉลี่ย 159.4±5.03 เซนติเมตร และน้าหนักเฉลี่ย 59.3±11.81 กิโลกรัม อาสาสมัครทุกคนจะทาการวัดความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุดโดยใช้นาฬิกาโพล่า (RS800CX) ทาการทดสอบในท่านอนหงาย คนละ 5 นาที และประมวลผลจากโปรแกรมโพล่าฟิตเนสเทส (pVO2max) หลังจากทดสอบด้วยโพล่าฟิตเนสแล้ว อาสาสมัครจะได้รับการทดสอบความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุดด้วยรูปแบบของออสตรานด์ (aVO2max) ทันที ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยความสามารถการใช้ออกซิเจนสูงสุดโดยการใช้นาฬิกาโพล่า (pVO2max) และวิธีการทดสอบรูปแบบของออสตรานด์ (aVO2max) มีค่าเท่ากับ 39.8±6.58 และ 41.1±3.03 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/นาที ตามลาดับ ซึ่งไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p>0.05) นอกจากนั้นเมื่อทาการทดสอบความถูกต้อง (validity) ระหว่างความสามารถการใช้ออกซิเจนสูงสุดโดยการใช้นาฬิกาโพล่า (pVO2max) และวิธีการทดสอบรูปแบบของออสตรานด์ (aVO2max) พบว่า ค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ r เท่ากับ 0.521 และค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของสมการถดถอย (Standard Error of Estimate; SEE) เท่ากับ 5.6 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/นาที ผลการศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่าโปรแกรมโพล่าฟิตเนสเทสสามารถนามาใช้ในการทดสอบหาความสามารถการใช้ออกซิเจนสูงสุดในกลุ่มเพศหญิงสุขภาพดีที่ไม่ใช่นักกีฬาได้ อย่างไรก็ตาม ก่อนนาวิธีการทดสอบด้วยโปรแกรมโพล่าฟิตเนสเทสควรศึกษาขั้นตอนและคาแนะนา เพื่อให้ได้ผลการทดสอบที่มีความถูกต้องแม่นยำ
(วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา 2561; 18(2): 90- 98)
คำสำคัญ: อัตราการใช้ออกซิเจน, การหาความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุด, การใช้ออกซิเจน
References
2. Medicine ACoS. ACSM’s guidelines for exercise testing and prescription. 6th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins; 2000.
3. Powers SK, Howley E. Exercise Physiology: Theory and Application to Fitness and Performance. 7th ed. New York: NY McGraw Hill; 2009.
4. Malek MH, Housh TJ, Berger DE, Coburn JW, Beck TW. A new non-exercise-based VO2max prediction equation for aerobically trained men. J Strength Cond Res. 2005;19(3):559-65.
5. Bradshaw DI, George JD, Hyde A, LaMonte MJ, Vehrs PR, Hager RL, et al. An accurate VO2max nonexercise regression model for 18-65-year-old adults. Res Q Exerc Sport. 2005;76(4):426-32.
6. Bruce RA, Kusumi F, Hosmer D. Maximal oxygen intake and nomographic assessment of functional aerobic impairment in cardiovascular disease. Am Heart J. 1973;85(4):546-62.
7. Astrand PO, Ryhming I. A nomogram for calculation of aerobic capacity (physical fitness) from pulse rate during sub-maximal work. J Appl Physiol. 1954;7(2):218-21.
8. Esco MR, Mugu EM, Williford HN, McHugh AN, Bloomquist BE. Cross-Validation of the Polar Fitness TestTM via the Polar F11 Heart. Rate Monitor in predicting VO2 Max. JEPonline 2011;14(5):31-7.
9. Crumpton S, Williford HN, O’Mailia S, Olson MS, Woolen LE. Validity of the polar M52 heart rate monitor in predicting VO2 max. Med Sci Sport Exerc 2003;35:S193.
10. Heil DP, Freedson PS, Ahlquist LE, Price J, Rippe JM. Nonexercise regression models to estimate peak oxygen consumption. Med Sci Sports Exerc 1995;27:599-606.
11. Malek MH, Housh TJ, Berger DE, Cobur JW, Beck TW. A new non-exercise based VO2 max prediction equation for aerobically trained men. J Strength Cond Res 2005;19:559-65.
12. Melanson EL, Freedson PS. The effect of endurance training on resting heart rate variability in sedentary adult males. Eur J Appl Physiol 2001;85:442-9.
13. Yamamoto K, Miyachi M, Saitoh T, Yoshioka A, Onodera S. Effects of endurance training on resting and post-exercise cardiac autonomic control. Med Sci Sports Exerc 2001;33:1496-502.
14. Hayano J, Mukai S, Sakakibara M, Okada A, Takata K, Fujinami T. Effects of respiratory interval on vagal modulation of heart rate. Am J Physiol 1994;267:H33-40.
15. Melanson EL, Freedson PS. The effect of endurance training on resting heart rate variability in sedentary adult males. Eur J Appl Physiol 2001;85:442-9.
16. Heil DP, Freedson PS, Ahlquist LE, Price J, Rippe JM. Nonexercise regression models to estimate peak oxygen consumption. Med Sci Sports Exerc 1995;27:599-606.
17. Jackson AS, Blair SN, Mahar MT, Wier LT, Ross RM, Stuteville JE. Prediction of functional aerobic capacity without exercise testing. Med Sci Sports Exerc 1990;22:863-70.
18. Wier LT, Jackson AS, Ayers GW, Arenare B. Nonexercise models for estimating VO2 max with waist girth, percent fat, or BMI. Med Sci Sports Exerc 2006;38:555-61.