ทัศนคติของผู้ปกครองต่อการตรวจคัดกรองภาวะพาหะโรคธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติในผู้ป่วยเด็กที่รับไว้ในโรงพยาบาล
Keywords:
Parental attitude, Thalassemia carrier, HemoglobinopathyAbstract
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: ศึกษา ทัศนคติ ของ ผู้ ปกครอง ของ ผู้ป่วย เด็ก ที่ รับ ไว้ ใน โรงพยาบาล ต่อ การ ตรวจ คัด กรอง ภาวะ พาหะ โรคธาลัสซี
เมีย และฮีโมโกลบิน ผิด ปกติ และ ผล การ ตรวจ คัด กรอง ใน ผู้ป่วย ที่ มี ค่า ดัชนี เม็ด เลือด แดง ผิด ปกติ วิธีการศึกษา: ขอ ความ ร่วมมือ ผู้
ปกครอง ของ ผู้ป่วย อายุ 1-15 ปี ที่ เป็น โรค เฉียบพลัน ที่ รับ ไว้ ใน โรงพยาบาล ตอบ แบบ สอบ ถาม ทัศนคติ ต่อ การ ตรวจ คัด กรอง ภาวะ พาหะ
โรคธาลัสซี เมีย และฮีโมโกลบิน ผิด ปกติ และ ทำ การ ตรวจ คัด กรอง ตาม ลำดับ ขั้นตอน ต่อไป นี้ คือ ผู้ป่วย ที่ มี MCV < 80 fl และ/ หรือ
DCIP test positive จะ ได้รับ การ ตรวจ Hb typing ผลการ ศึกษา: มี ผู้ ปกครอง 50 ราย ตอบ แบบ สอบ ถาม แต่ มี ข้อมูล สมบูรณ์ เพื่อ
การ วิเคราะห์ 47 ราย เกี่ยว กับ ทัศนคติ ต่อ การ ตรวจ คัด กรอง ภาวะ พาหะ โรคธาลัสซี เมีย และฮีโมโกลบิน ผิด ปกติ 6 ด้าน คือ 1) ความ
รู้ เกี่ยว กับ โรคธาลัสซี เมีย ร้อยละ 85.1 ทราบ ว่า โรคธาลัสซี เมีย สามารถ ถ่าย ทอด ทาง พันธุ กรรม ได้ 2) กลุ่ม ประชากร ที่ ควร ตรวจ คัด
กรอง ร้อยละ 78.7 เห็น ว่า ควร ตรวจ ใน คน ที่ พบ ว่า มี ภาวะ ซีด ร้อยละ 91.5 เห็น ว่า ควร ตรวจ ใน คน ที่ ได้รับ การ ตรวจ เลือด แล้ว พบ ว่า มี
ค่า ดัชนี เม็ด เลือด แดง ผิด ปกติ 3) ช่วง อายุ ที่ ควร ตรวจ คัด กรอง ร้อยละ 74.5 เห็น ว่า ควร ตรวจ คัด กรอง เมื่อ ต้องการ จะ มี บุตร และ ร้อยละ
87.2 เห็น ด้วย กับ การ ตรวจ คัด กรอง ใน หญิง ตั้งครรภ์ ใน รูปแบบ บริการ ปัจจุบัน 4) การ มี บัตร ประจำ ตัว ร้อยละ 80.9 เห็น ว่า ผู้ ที่ เป็น
พาหะ ควร มี บัตร ประจำ ตัว และ ร้อยละ 78.7 ไม่ ถือ ว่า การ มี บัตร ประจำ ตัว เป็น การ ขัด ต่อ สิทธิ ส่วน บุคคล 5) การ บันทึก ใน เวช ระเบียน
ร้อยละ 48.9 เห็น ว่า ภาวะ พาหะ เป็น ความ ลับ ส่วน บุคคล ไม่ ควร บันทึก ใน เวช ระเบียน ผู้ป่วย แต่ ร้อยละ 51.1 เห็น ควร บันทึก ใน เวช
ระเบียน ผู้ป่วย และ 6) ความ คิด เห็น เกี่ยว กับ ค่าใช้จ่าย ใน การ ตรวจ คัด กรอง ร้อยละ 57.5 เห็น ว่า ควร อยู่ ใน ระบบ ประกัน สุขภาพ
30 บาท มี ผู้ป่วย เด็ก ที่ เข้า ร่วม ใน โครงการ การ ตรวจ คัด กรอง พาหะ โรคธาลัสซี เมีย และฮีโมโกลบิน ผิด ปกติ จำนวน 38 ราย จาก จำนวน
ทั้ง หมด 50 ราย คิด เป็น ร้อยละ 76 เป็น ชาย 20 ราย หญิง 18 ราย อายุ ระหว่าง 2 ปี 10 เดือน-15 ปี มัธยฐาน 9 ปี 5 เดือน พบ
ว่า มี ผู้ป่วย ให้ ผลบวก ที่ มี MCV < 80 fl และ/ หรือ DCIP positive จำนวน 32 จาก 38 ราย คิด เป็น ร้อยละ 84.2 แยก เป็น ผู้ป่วย
จำนวน 6 ราย มี MCV < 80 fl และ DCIP positive ผล ตรวจ Hb typing พบ ว่า เป็น Hb E trait 4 ราย, homozygous Hb E
1 ราย และ AE Bart’s disease 1 ราย และ มี ผู้ป่วย จำนวน 26 ราย มี MCV < 80 fl และ DCIP negative ตรวจ Hb typing
พบ ว่า เป็น Hb E trait 6 ราย, homozygous Hb E 1 ราย, abnormal Hb 1 ราย และ normal Hb typing 18 ราย ซึ่ง ควร จะ
ได้รับ การ ตรวจ ภาวะ ที่ เป็น พาหะ α thalassemia ด้วย DNA analysis ต่อไป สรุป: ผู้ ปกครอง ส่วน ใหญ่ มี ทัศนคติ ที่ ดี และ สนใจ
ต่อ การ ตรวจ คัด กรอง ภาวะ พาหะ โรคธาลัสซี เมีย และฮีโมโกลบิน ผิด ปกติ การ ตรวจ คัด กรอง ใน ผู้ป่วย เด็ก ที่ รับ ไว้ ใน โรงพยาบาล ทำให้
สามารถ ค้น พบ พาหะ โรคธาลัสซี เมีย และฮีโมโกลบิน ผิด ปกติ ร้อยละ 34.2 (13/38) และ ผู้ป่วย โรคธาลัสซี เมีย ชนิด รุน แรง น้อย AE
Bart’s disease ร้อยละ 2.6 (1/38) ใน ผู้ป่วย ที่ มี ดัชนี เม็ด เลือด แดง ผิด ปกติ
Abstract:
Objective: To assess parental attitude towards the determination of the carrier state of thalassemia and hemoglobinopathies
in the hospitalized children. A confirmation test is subsequently performed among children with abnormal red
blood cell indices. Methods: The study design was a descriptive analysis including parents of children admitted with
an acute illness in the Pediatric Ward at the Faculty of Medicine, Ramathibodi Hospital. The parents were asked to
answer a questionnaire concerning their attitudes towards the determination of carrier state of thalassemia and hemoglobinopathies.
The children, who have had positive screening test by either MCV < 80 fl and/or positive DCIP, were
confirmed for the carrier state of thalassemia and hemoglobinopathies by performing hemoglobin typing. Results: Fifty
parents answered the questionnaire. The analysis was carried out in 47 complete questionnaires which included six
aspects: 1) knowledge, 85.1% have known that thalassemia is an inherited disease; 2) target group of carrier identification,
78.7% suggested to include those with anemia and 91.5% to include those with abnormal red blood cell indices;
3) appropriate age of carrier detection, 74.5% suggested to perform in couples wishing to have baby and 87.2% to
perform in pregnant women similar to the present antenatal service; 4) identification card, 80.9% agreed to have a card
specificing the carrier state and 78.7% did not think that it invades their privacy; 5) medical recording 48.9% did not
allow to write the carrier state in the medical record because it was their personnel secret while 51.1% allowed; and
6) expenditure of laboratory test, 57.5% suggested to include in the national insurance program. Thirty-eight out of
50 parents (76%) allowed their children (20 males, 16 females) to enroll in the screening program. The mean age of
children was 9 yr 5 m. 32 out of 38 children (84.2%) had MCV < 80 fl and/or positive DCIP. Six children with MCV
< 80 fl and positive DCIP test were found to have the Hb E trait (n = 4), homozygous Hb E (n = 1) and AE Bart’s
disease (n = 1). Twenty-six children with MCV < 80 fl and negative DCIP test were found to have Hb E trait (n = 6),
homozygous Hb E (n = 1), unidentified abnormal Hb (n = 1) and normal Hb typing (n = 18). The DNA analysis for the
carrier state of ( thalassemia should be further carried out in 18 children with normal Hb typing. Conclusion: Majority
of parents have positive attitudes towards on the laboratory determination of thalassemia and hemoglobinopathies.
The carrier state and mild thalassemia disease of AE Bart’s disease were found in 34.2% (13/38) and 2.6% (1/38), respectively
among children with abnormal red blood indices.