ประสิทธิภาพของการดูดเลือดขับเหล็กในผู้ป่วยเด็กโรคธาลัสซีเมียที่มีภาวะเหล็กเกินหลังการปลูกถ่ายไขกระดูก
Keywords:
Phlebotomy, Thalassemia, Bone marrow transplantationAbstract
บทคัดย่อ
ผู้ ป่วยธาลัสซี เมีย ที่ รักษา หาย ขาด จาก การ ปลูก ถ่าย ไข กระดูก ยัง คง มี ปัญหา เหล็ก เกิน เนื่อง จาก การ ได้รับ เลือด
มา ก่อน และ ระหว่าง ปลูก ถ่าย ไข กระดูก การ ศึกษา นี้ มี วัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษา ประสิทธิภาพ ของ การ ดูด เลือด ขับ เหล็ก ใน
ผู้ ป่วยธาลัสซี เมีย หลัง ปลูก ถ่าย ไข กระดูก ที่ มี ภาวะ เหล็ก เกิน โดย การ ดูด เลือด ทิ้ง 6 ซี ซี ต่อ น้ำหนัก ตัว 1 กิโลกรัม เดือน ละ
ครั้ง กลุ่ม ตัวอย่าง 13 ราย เป็น ผู้ ป่วยธาลัสซี เมีย ชนิด เบต้าเมเจอร์ 8 ราย และธาลัสซี เมีย ชนิด เบต้า อี 5 ราย เพศ ชาย 7
ราย เพศ หญิง 6 ราย ได้รับ การ รักษา ด้วย การ ปลูก ถ่าย ไข กระดูก และ มา ติด ตาม ผล การ รักษา ระยะ ยาว ที่ โรงพยาบาล
รามาธิบดี ระหว่าง เดือน ตุลาคม 2545 ถึง พฤษภาคม 2549 อายุ เฉลี่ย ± ค่า เบี่ยงเบน มาตรฐาน เท่ากับ 10.9±3.3 ปี
ประเมิน กลุ่ม ตัวอย่าง หลัง การ ขับ เหล็ก 6 เดือน และ 12 เดือน ผล การ ศึกษา พบ ว่า ค่าเฉลี่ย ± ค่า เบี่ยงเบน มาตรฐาน ของ
serum ferritin เมื่อ เริ่มต้น ( 3743.8±2350.7 ng/mL) แตก ต่าง จาก เดือน ที่ 6 ( 2505.3±1668.5 ng/mL) และ เดือน ที่
12 หลัง ขับ เหล็ก ( 2035.8±1505.1 ng/mL) อย่าง มี นัย สำคัญ ทาง สถิติ ค่าเฉลี่ย ของฮีโมโกลบิน ± ค่า เบี่ยงเบน มาตรฐาน
เมื่อ เริ่มต้น เดือน ที่ 6 และ เดือน ที่ 12 ตาม ลำดับ เท่ากับ 12.4±1.4, 12.9± 0.9, 12.8±0.9 ซึ่ง ไม่ แตก ต่างกัน อย่าง มี นัย
สำคัญแ ละคา่เฉลี่ยt ransferrins aturation ± คา่เ บี่ยงเบนมาตรฐานเ มื่อเ ริ่มตน้ เ ดือนที่6 แ ละเ ดือนที่1 2อ ยูใ ่นระดับ
ปกติ ไม่ มี ภาวะ ขาด ธาตุ เหล็ก และ ไม่ พบ ผล ข้าง เคียง จาก การ ดูด เลือด ขับ เหล็ก ผล การ ศึกษา แสดง ให้ เห็น ว่า การ ดูด เลือด
ขับ เหล็ก สามารถ นำ ไป ใช้ เพื่อ ขับ เหล็ก ใน ผู้ ป่วยธาลัสซี เมีย หลัง ปลูก ถ่าย ไข กระดูก ที่ มี ภาวะ เหล็ก เกิน อย่าง มี ประสิทธิภาพ
และ ปลอดภัย