การประยุกต์ใช้เทคนิคแอลลีลสเปซิฟิกพีซีอาร์เพื่อศึกษาทางระบาดวิทยาของฮีโมโกลบินปากเซในจังหวัดนครศรีธรรมราช
Keywords:
Hb Pakse’, Nondeletional α-thalassemia 2, Hb H disease, Allele Specific-PCRAbstract
บทคัดย่อ
ฮีโมโกลบินปากเ ซ( HbP akse’)เ ป็นฮีโมโกลบินผิดป กติที่เ กิดจากการก ลายพันธ์ุที่ตำแหน่งโ คด อนยุติข อง
ยีน α2-globin( TAA-TAT)เ ป็นผ ลใ ห้เ กิดการสังเคราะห์สายโ กลบินที่ยาวผิดป กติค ล้ายกับฮีโมโกลบินค อนสแตนท์-
สปริง( HbC S;T AA-CAA)จัดเ ป็นn ondeletional α -thalassemia2 ช นิดห นึ่งเ มื่อพ บร่วมกับ α -thalassemia
1ทำให้เ กิดโ รคH bH ที่มีอาการรุนแ รงไ ด้แ ละรุนแ รงมากก ว่าช นิดที่เ กิดจากd eletional α -thalassemia2 ร่วมกับ
α-thalassemia 1 ใน ปัจจุบัน มี รายงาน พบ ว่า มี Hb Pakse’ ใน ประชากร ลาว, ไทย และ กัมพูชา แล้ว โดย ใช้ เทคนิค
Allele Specific-PCR แต่ ยัง ไม่ มี การ ศึกษา ข้อมูล ด้าน ระบาด วิทยา ใน ประชากร ไทย ใน รายงาน นี้ จึง ได้ ศึกษา ยีน Hb
Pakse’ ใน หญิง ตั้งครรภ์ ใน จังหวัด นครศรีธรรมราช จำนวน 448 ราย โดย ใช้ วิธี ASPCR และ ได้ ตรวจ พบ ว่า มี Hb
Pakse’2 ราย( ร้อยละ0 .4)ซึ่งเ ป็นH bP akse’h eterozygoteมีช นิดฮีโมโกลบินเ ป็นA 2A และ ยัง ได้ พบ ว่า ข้อมูล ทาง
โลหิต วิทยา ใน 2 ราย นี้ ไม่ ได้เ ปลี่ยน แปลง ไป จาก คน ปกติ ข้อมูล จาก การ ศึกษา นี้ แสดง ให้เ ห็น ว่า มี ระบาด วิทยา ของ Hb
Pakse’ใ นภาคใ ต้ข องป ระเทศไ ทยจำเป็นที่จะต้องต ระหนักถึงค วามสำคัญเ พื่อการค วบคุมแ ละป้องกันโ รคธาลัสซีเ มีย
ในภูมิภาคนี้น อกจากนี้ไ ม่สามารถใ ห้การวินิจฉัยค วามผิดป กติข องฮีโมโกลบินช นิดปากเ ซไ ด้จากการต รวจเ ลือดเ พียงอ ย่าง
เดียว จำเป็น ต้อง อาศัย การ ตรวจ ดี เอ็น เอ ร่วม ด้วย