Development and Exploratory Factor Analysis of Problem Orientation and Problem-Solving Style Questionnaire

Main Article Content

chaowanee longchoopol
Cathareeya Rattanawimol

Abstract

บทคัดย่อ


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการพัฒนาและวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจของแบบประเมินมุมมองต่อปัญหาและรูปแบบการแก้ปัญหา ตามแนวคิดทฤษฎีของเดอร์ซูเลร่าและเนซู กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ นิสิตคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ชั้นปีที่ 1-4 จำนวน 295 คนที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเข้าและคัดเลือกด้วยการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัย คือ แบบประเมินมุมมองต่อปัญหาและรูปแบบการแก้ปัญหาที่สร้างขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมและตามแนวคิดของเดอร์ซูเลร่าและเนซู แบบประเมินมีลักษณะแบบมาตรส่วนประเมินค่า 5 ระดับประกอบด้วย แบบประเมินมุมมองต่อปัญหาจำนวน 12 ข้อ และแบบประเมินรูปแบบการแก้ปัญหาจำนวน 20 ข้อและผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหามีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.60-1.00 และมีค่าดัชนีความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .906 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ ทำการสกัดองค์ประกอบด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบร่วม เทคนิคย่อยวิธีแกนหลักและหมุนแกนองค์ประกอบมุมฉาก ด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยพบว่าแบบประเมินมุมมองต่อปัญหา ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ  และแบบประเมินรูปแบบการแก้ปัญหา ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ซึ่งทุกองค์ประกอบสามารถร่วมกันอธิบายมุมมองต่อปัญหาได้ร้อยละ 35.62 และรูปแบบการแก้ปัญหาได้ร้อยละ 38.82

Article Details

Section
Original article (นิพนธ์ต้นฉบับ)

References

Seehawong S, Phungdee N, Yanarom N, Noinang N, Arnai N, Boonchern T, et al. Factors causing to Stress of Nursing Students, Ubon Ratchathani University. Huachiew Chalermprakiet University Journal of Health Science 2019; 21(42): 93-106. [in Thai]

Thamnamsin K, Noitung S, Punyapet K, Sorat W. Factors Affecting to Stress among Nursing Students in a Private Nursing College, Bangkok. Journal of Health and Health Management 2021; 7(1): 60-75. [in Thai]

Alexopoulos GS, Raue PJ, Kiosses DN, Mackin RS, Kanellopoulos D, McCulloch C, Arean PA. Archives of general psychiatry 2011; 68(1): 33-41.

D’Zurilla, T.J., & Nezu, A.M. Problem-solving therapy In Dobson, K.S. (Ed.) Handbook of Cognitive behavioral therapies. Ney York: Guilford Press; 2010.

Nezu AM, Nezu CM, D’Zurilla TJ. Problem-Solving Therapy: a treatment manual New York: Spring Publishing; 2013.

Pantip Kosallavat Darawan Thapinta Hathairat Patipatpakdee Jintana Leejongpermpoon. The development and effect of Problem Solving Therapy on Depressive Symptoms for Major Depressive Disorders at Prasrimahabhodi Psychiatric Hospital. The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health 2018; 32(1): 49-65. [in Thai]

Fernandez-Alvarez H, Garcia F, Bianco JL, Santoma SC. Assessment Questionnaire on the Personal Style of the Therapist PST-Q. Clinical Psychology and Psychotherapy 2003; 10: 116-25.

Heppner PP, Petersen CH. The Development and Implications of a Personal Problem-Solving Inventory. Journal of Counseling Psychology 1982; 29(1): 66-75.

Terada Pinyo. Techniques for interpreting the results of factor analysis in research work. Panyapiwat Journal 2018; 10: 292-304. [in Thai]

Attakrai Punpukdee. The Comparison of the Use of Statistics Analysis in Testing Construct Validity of Social Capital: An Confirmatory Factor Analysis. Journal of Business, Economics and Communications 2016; 11(2): 46-61. [in Thai]

Yuth Kaiyawan. Multivariate statistical analysis for research. Bangkok: Chulalongkorn University Printing House; 2013. [in Thai]