ผลกระทบจากการระบาดใหญ่ โควิด 19 ที่มีต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี

ผู้แต่ง

  • ปานตา อภิรักษ์นภานนท์ คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์
  • พวงทิพย์ ชัยพิบาลสฤษดิ์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเมธารัถย์
  • วนิดา ศรีวรกุล คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์
  • มณีรัตน์ ภาคธูป คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยเซนต์หลุยส์
  • จารุณี อรุณเรื่อ กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า

คำสำคัญ:

ผู้ติดเชื้อเอชไอวี, ผลกระทบการระบาดใหญ่โควิด 19

บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงพรรณนาเพื่อศึกษา ผลกระทบจากการระบาดใหญ่ โควิด 19 ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี ต่อ ความรู้ การจัดการกับความวิตกกังวล วัคซีนป้องกันเชื้อโควิด 19 การสนับสนุนทางสังคม รายได้  การพบแพทย์ตามนัด และศึกษาความสัมพันธ์ ระหว่าง อายุ จำนวนปีที่ติดเชื้อ รายได้ และ การสนับสนุนทางสังคม กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่จำนวน108 คนโดยสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ California Health Interview Survey ของ Johns Hopkins University และ Citizen Science Study ของ University of California, San Franciscoโดยการแปลแบบย้อนกลับ ใช้สถิติเชิงพรรณาและPearson Correlation พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 44.58 ปี   ระยะเวลาการติดเชื้อเฉลี่ย 13.02 ปี   พบแพทย์ เฉลี่ย 3.35 ครั้ง  ร้อยละ 100 กินยาต้านไวรัสสม่ำเสมอ  ร้อยละ 83.7   ตรวจไม่พบเชื้อไวรัส  ร้อยละ 86.5 มีความรู้ อาการการติดเชื้อโควิด ร้อยละ 95.2 รู้การกระจายเชื้อโควิด   ร้อยละ 99.0ได้รับวัคซีนป้องกันโรคโควิด 19 มีความวิตกกังวลในระดับปานกลาง กลัวการติดเชื้อโควิดในระดับมาก สวมหน้ากากอนามัยในที่สาธารณะเพื่อป้องกันโควิดในระดับมาก รับรู้การสนับสนุนทางสังคม ในระดับดี   อายุของผู้ติดเชื้อเอชไอวี สัมพันธ์กับจำนวนปีที่ติดเชื้อในทางบวก ระดับปานกลาง (r= .54, P < .01)  2) รายได้เฉลี่ยของผู้ป่วยเอชไอวีต่อเดือนสัมพันธ์กับการสนับสนุนทางสังคมในทางบวกในระดับต่ำ (r = .23, p < .05)  3) จำนวนปีของการติดเชื้อเอชไอวี สัมพันธ์กับจำนวนครั้งที่ไปพบแพทย์ในทางลบ ระดับต่ำ( r =- .20, p < .05)  4)  การสนับสนุนทางสังคม สัมพันธ์กับการปฏิบัติตัวของผู้ติดเชื้อ ในการป้องกันโรคโควิด 19 ในทางบวก ระดับต่ำ (r = .21, p < .05)  ควรพัฒนาการสนับสนุนทางสังคมแก่ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ในการเผชิญสถานการณ์ในอนาคต

References

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข. (2562). สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2562. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.

กองโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). การฉีดวัคซีนโควิด-19 ในผู้ติด เชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์. สืบค้นจาก https://www.ddc.moph.go.th/uploads/files/1914020210622071958.pdf

ธนา ขอเจริญพร. (2565). โรคติดเชื้อ HIV และโควิด 19 ปี 2564. สืบค้นจาก https://cimjournal.com/idv-conference/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%8A%E0%B9%84%E0%B8%AD%E0%B8%A7%E0%B8%B5/

พิชิต วิจิตรบุญยรักษ์. (2554). สื่อสังคมออนไลน์: สื่อแห่งอนาคต. วารสารนักบริหาร, 31(4), 99-103.

องค์การสหประชาชาติ. (2564). องค์การสหประชาชาติ ร่วมภารกิจยุติเอดส์ให้ได้ภายใน ปี 2573. สืบค้นจาก https://workpointtoday.com/unaids/

Aborode, A. T., Olotu, T. M., Oyetunde, O. B., Ajagbe, A. O., Mustapha, M. A., Karra-Aly, A., & Oko, C. I. (2022). COVID-19 outcomes in HIV patients: a review. Annals of Medicine and Surgery, 78, 103768.

Brown, L. B., Spinelli, M. A., & Gandhi, M. (2021). The Interplay between HIV and COVID-19: summary of the data and responses to date. Current Opinion in HIV and AIDS, 16(1), 63–73.

Geretti, A. M., Stockdale, A. J., Kelly, S. H., Cevik, M., Collins, S., Waters, L., ... & Semple, M. G. (2021). Outcomes of coronavirus disease 2019 (COVID-19) related hospitalization among people with human immunodeficiency virus (HIV) in the ISARIC World Health Organization (WHO) clinical characterization protocol (UK): a prospective observational study. Clinical Infectious Diseases, 73(7), 2095-2106.

Jones, D. L., Ballivian, J., Rodriguez, V. J., Uribe, C., Cecchini, D., Salazar, A. S., ... & Alcaide, M. L. (2021). Mental health, coping, and social support among people living with HIV in the Americas: a comparative study between Argentina and the USA during the SARS-CoV-2 pandemic. AIDS and Behavior, 25(4), 2391-2399.

Khamarko, K., & Myers, J. J. (2013). The influence of social support on the lives of HIV-infected individuals in low-and middle-income countries. Geneva : World Health Organization.

Kim, H. Y. (2013). Statistical notes for clinical researchers: assessing normal distribution (2) using skewness and kurtosis. Restorative dentistry & endodontics, 38(1), 52–54.

Mellor, M. M., Bast, A. C., Jones, N. R., Roberts, N. W., Ordóñez-Mena, J. M., Reith, A. J., ... & Dorward, J. (2021). Risk of adverse coronavirus disease 2019 outcomes for people living with HIV. AIDS (London, England), 35(4), F1.

Mohebi, S., Parham, M., Sharifirad, G., Gharlipour, Z., Mohammadbeigi, A., & Rajati, F. (2018). Relationship between perceived social support and self-care behavior in type 2 diabetics: A cross-sectional study. Journal of education and health promotion, 7, 48. https://doi.org/10.4103/jehp.jehp_73_17

Schulz, A. J., Israel, B. A., Zenk, S. N., Parker, E. A., Lichtenstein, R., Shellman-Weir, S., & Ab, L. K. (2006). Psychosocial stress and social support as mediators of relationships between income, length of residence and depressive symptoms among African American women on Detroit's eastside. Social science & medicine, 62(2), 510-522.

The Bangkok Insight Editorial Team. (2565). อัพเดทสถานการณ์โควิด วันที่ 25 มกราคม 2565. Retrieved from https://www.thebangkokinsight.com/news/politics-general/covid-19/792183/.

Weyers, S., Dragano, N., Möbus, S., Beck, E. M., Stang, A., Möhlenkamp, S., ... & Siegrist, J. (2008). Low socio-economic position is associated with poor social networks and social support: results from the Heinz Nixdorf Recall Study. International Journal for Equity in Health, 7(13), 1-7.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-28

How to Cite

อภิรักษ์นภานนท์ ป., ชัยพิบาลสฤษดิ์ พ., ศรีวรกุล ว., ภาคธูป ม., & อรุณเรื่อ จ. (2023). ผลกระทบจากการระบาดใหญ่ โควิด 19 ที่มีต่อผู้ติดเชื้อเอชไอวี. วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ, 9(2), 217–229. สืบค้น จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/slc/article/view/266436