กระท่อม : ยาเสพติดจริงหรือ
Abstract
กระท่อมเป็นพืชที่ถูกจัดเป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 เช่นเดียวกับกัญชาและเห็ดขี้ควาย ในประเทศไทยได้มีการควบคุมการใช้กระท่อมมานานกว่า 60 ปี ตามพระราชบัญญัติพืชกระท่อม พ.ศ.2486 อย่างไรก็ตามในส่วนการกำหนดกระท่อมเป็นยาเสพติดนั้นในหมู่นักวิชาการบางส่วนยังมีข้อสงสัยในโทษพิษภัยของกระท่อมว่าควรจัดเป็นยาเสพติดให้โทษหรือไม่ เพราะกระท่อมไม่ได้ถูกจัดเป็นยาเสพติดหรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทตามอนุสัญญาของสหประชาชาติ ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญได้ศึกษาผลดีและผลเสียการบริโภคพืชกระท่อม และสมาชิกวุฒิสภาได้ลงพื้นที่รับฟังความคิดเห็นของประชาชน เพื่อนำข้อคิดเห็นและข้อสรุปที่ได้ไปเป็นแนวทางเสนอว่าควรยกเลิกพืชกระท่อมออกจากยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดหรือไม่ ผลการสำรวจยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจนและไม่พบหลักฐานการแถลงออกสู่สาธารณชน1 จึงได้มีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพืชกระท่อมในแง่มุมต่างๆ ทั้งประโยชน์ทางด้านสังคม วัฒนธรรม ลดอาการถอนยาจากสารเสพติด ในปี 2548 จึงได้มีข้อเสนอให้ยกเลิกการกำหนดกระท่อมเป็นยาเสพติดให้โทษ แต่ยังไม่มีมติใดๆออกมา และในปี 2556 ในการประชุมผู้บริหารกระทรวงยุติธรรมมีความเห็นไปในทางเดียวกัน คือ ควรถอนพืชกระท่อมออกจากบัญชียาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พุทธศักราช 2522 อีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากเป็นพืชที่ชาวบ้านนิยมบริโภคเพื่อกระตุ้นในการทำงาน โดยไม่มีอันตรายต่อร่างกาย รวมทั้งยังมีประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์หลายประการ โดยเฉพาะเป็นยาสมุนไพรรักษาโรคบางโรคได้ แต่การดำเนินการจะต้องมีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดเพื่อไม่ให้มีการนำพืชกระท่อมไปเป็นส่วนผสมของ
ยาเสพติด2
บทความนี้ขอนำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับพืชกระท่อมในแง่มุมต่างๆ เพื่อประกอบการพิจารณาการยกเลิกพืชกระท่อมออกจากพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ดังนี้
References
2. ทีมข่าวอาชญากรรม. ยธ.เดินหน้าชงถอนใบกระท่อมจากบัญชียาเสพติด. [สืบค้น 2 ตุลาคม 2556].
เข้าถึงได้จาก http://www.manager.co.th/Crime/ViewNews.aspx?NewsID=9560000123946.
3. Babu, K.M., McCurdy, C.R., Boyer, E.M. Opioid receptors and legal highs : Salvia divinorum
and Kratom. Clinical Toxicology 2008;46:146-152.
4. Watanabe K, YanoS,Horie S, Yamamoto LT. Inhibitory effect of mitragynine, an alkaloid
with analgesic effect from Thai medicinal plant Mitragyna specinosa ,on electrically
stimulated contracteion of isolated guinea-pig ileum thrugh the opioid receptor. Life Sci
1997;60:933-42.
5. Matsumoto K., Mizowaki, M., Suchitra, T., Takayama,H., Sakai, S.I., Aimi, N.,Watanabe, H.
Antinociceptive action of mitragynine in mice : evidence for the involvement of
supraspinal opioid receptors. Life Sci 1996;59:1149–55.
6. N.D. Mitragynine. (cited 2013 Oct 2). Avaliabal from: http://www.micromedex.com/.
7. Matsumoto K, Hatori Y, Murayama T, Tashima K, Wongseripipatana S, Misawa K, Kitaji M, Takayama H, Horie S. Involvement of mu-opioid receptors in antinociception and
inhibition of gastrointestinal transit induced by 7-hydroxymitragynine, isolated from Thai herbal medicine Mitragyna speciosa. Eur J Pharmacol 2006;549:63-70.
8. Matsumoto K, Horie S, Ishikawa H, Takayama,H., Aimi, N., Ponlux D, Watanabe, K.
Antinociceptive effect of 7- hydroxymitragynine in mice: Discovery of an orally active opioid analgesic from the Thai medicinal herb Mitragyna speciosa. Life Sci 2004;74:2143–55.
9. wikipedia. 7-Hydroxymitragynine. (cited 2013 Oct 2). Avaliabal from: http://en.wikipedia.org/wiki/7- Hydroxymitragynine.
10. Shaik Mossadeq WM, Sulaiman MR, Tengku Mohamad TA, Chiong HS, Zakaria ZA, Jabit
ML, Baharuldin MT, Israf DA. Anti-inflammatory and antinociceptive effects
of Mitragyna speciosa Korth methanolic extract. Med Princ Pract 2009;18:378-84.
11. Parthasarathy S, Bin Azizi J, Ramanathan S, Ismail S, Sasidharan S, Said MI, Mansor SM.
Evaluation of antioxidant and antibacterial activities of aqueous, methanolic and
alkaloid extracts from Mitragynaspeciosa (Rubiaceae family) leaves. Molecules 2009;
14:3964-74.
12. Harizal SN, Mansor SM, Hasnan J, Tharakan JK and Abdullah J. Acute toxicity study of
the standardized methanolic extract of MitragynaspeciosaKort in rodent. J Ethnopharmacol 2010;131:404-9.
13. Suwanalert Sangun. A study of kratom eaters in Thailand. Bull Narc 1975;27:21-27.
14. วิโรจน์ วีรชัย, สำเนา นิลบรรพ์. อาการทางคลินิกของผู้เสพติดกระท่อม. วารสารกรมการแพทย์
2548;30:310-13.
15. Slot AC, Schroder H, Neurath H, Grecksch G, Hollt V, Meyer MR, Maurer HH, Zieboiz N,
Havemann-Reinecke U, Becker A. Behavioral and neurochemical characterization of
kratom (Mitragynaspeciosa) extract. Psychopharmacology (beri). 2013;231:13-25.
16. เอกสิทธิ์ กุมารสิทธิ์. ในสรุปสาระสำคัญการประชุมวิชาการพืชกระท่อม ระหว่างวันที่ 17-18 ตุลาคม 2548 ณ ห้องประชุมคอนเวนชั่นฮอลล์ ศูนย์ประชุมสถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพมหานคร.
เอกสารอัดสำเนา.
17. Idayu NF, Hidayat MT, Moklas MA, Sharida F, Raudzah AR, Raudzah AR, Shamina AR, Apryani E. Antidepressant-like effect of mitragynine isolated from MitragynaspecicosaKort in mice model of depression. Phytomedicine. 2011;18:402-7.
18. เอกสิทธิ์ กุมารสิทธิ์. พืชใบกระท่อมช่วยลดอาการลงแดงจากสารเสพติด. [สืบค้น 2 ตุลาคม 2556]. เข้าถึงได้ จาก http://www.slideshare.net/UtaiSukviwatsirikul/katom-summary.
19. สาวิตรี อัษณางค์กรชัย. การใช้ การเสพติด และผลกระทบต่อสุขภาพ ในสาวิตรี อัษณางค์กรชัย
อาภา ศิริวงศ์ ณ อยุธยา, บรรณาธิการ. พืชกระท่อมในสังคมไทย วัฒนธรรม พฤติกรรม สุขภาพ
วิทยาศาสตร์ กฎหมาย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานงบประมาณความช่วยเหลือด้านการป้องกันและ
ปราบปรามยาเสพติด (NAS) สถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาประจำประเทศไทย สำนักงาน
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยุติธรรม; 2548.
20. บุญศิริ จันศิริมงคล, อรนลิน สิงขรณ์, บรรเจิด ทิพย์นุรักษ์ และดวงวิกรณ์ พ่วงรอด. การศึกษา
ผลกระทบทางอาการวิทยาที่พบในผู้เสพพืชกระท่อม ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลสวนสราญรมย์.
วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา 2552;3:41-53.
21. กองควบคุมวัตถุเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. การประชุมคณะกรรมการควบคุมยา เสพติดให้โทษ (ตั้งขึ้นตามมาตรา 9 แห่งพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522) ประจำปี 2550 ครั้งที่ 284-9/2550 วันที่ 21 พฤศจิกายน 2550 [สืบค้น 2 ตุลาคม 2556]. เข้าถึงได้
http://newsser.fda.moph.go.th/newsser/2008/list/detail.php?id=814
22. กองควบคุมวัตถุเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. โครงการศึกษาผลกระทบต่างๆใน
การควบคุมพืชกะท่อมเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท5; 2548.
23. กองควบคุมวัตถุเสพติด สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. กระท่อม (Kratom).
[สืบค้น 10 ตุลาคม 2556]. เข้าถึงได้จาก http://narcotic.fda.moph.go.th/welcome/?p=2539
24. Prozialeck WC, et al. Pharmacology of kratom:an emerging botanical agent with
stimulant, analgesic and opioid-like effects. J Am Osteopath 2012;112:792-9.
25. American Psychiatric Association. Diasnostic and Statistical Manual of Mantal Disorder. 4th ed. Washington: American Psychiatric Association; 2000.
26. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กระทรวงยุติธรรม. รวมกฎหมายยาเสพติด
พร้อมด้วยกฎกระทรวงระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง. เอกสารเผยแพร่; 2555.
27. ประเภทของวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท. [สืบค้น 10 ตุลาคม 2556]. เข้าถึงได้จาก
http://www2.custom.go.th/jsp/hazard/public/narcotic/preface.pdf.