หลักการเก็บรักษาเนื้อเยื่อทางชีวภาพโดยวิธีกำซาบด้วยสารพลาสติก

Authors

  • เอมอร เจริญสรรพพืช
  • อุทัย ตันกิตติวัฒน์

Keywords:

การเก็บรักษาเนื้อเยื่อทางชีวภาพ

Abstract

การเก็บรักษาเนื้อเยื่อทางชีวภาพโดยวิธีกำซาบด้วยสารพลาสติก (plastination) ถูกคิดค้นและพัฒนาขึ้นมาโดย Dr. Gunther von Hagens จากมหาวิทยาลัยโฮเดลเบอร์ก ประเทศเยอรมันนี สำหรับเก็บรักษาเนื้อเยื่อทางชีวภาพไม่ให้เน่าและมีลักษณะเหมือนธรรมชาติ โดยมีหลักการว่าน้ำและไขมัน ในเนื้อเยื่อจะถูกแทนที่ด้วยโพลิเมอร์ โดยการใช้ขั้นตอนการทำให้เป็นสูญญากาศ สารพลาสติก เช่น ซิลิโคน อีพ็อกซี่เรซิน หรือโพลีเอสเทอร์เรซิน ก็จะกำซาบเข้าสู่เนื้อเยื่อ คุณสมบัติของเนื้อเยื่อที่กำซาบด้วยสารพลาสติกที่ได้ขึ้นอยู่กับชนิดของโพลิเมอร์ที่ใช้ เช่น อาจมีความยืดหยุ่นได้ หรือแข็ง และขุ่นหรือโปร่งใส เนื้อเยื่อที่ผ่านขั้นตอนการเก็บรักษาโดยการกำซาบด้วยสารพลาสติก แล้วจะมีลักษณะแห้ง ไม่มีกลิ่น คงทนถาวร เก็บรักษาไว้ได้นาน และสามารถจับต้องได้อย่างใกล้ชิด Plastination invented by Dr. Gunther von Hagens from University of Heidelberg, Germany is a unique method of preserving tissue in a life like state. In the plastination technique, biological tissue water and lipids are replaced by cured polymers through forced impregnation. It is a vacuun process in which biological specimens are imprenated with a reactive polymers such as sillcone rubber, epoxy or polyester resin. The improved properties of plastinated specimens are mainly accounted for by the superior quality of curable polymers. The class of polymer used determines the mechanical (flexible or firm) and optical (opaque or transparent) properties of the specimens. Plastination specimans are dry, odorless, durable,last indefinitely and can literally be grasped.

Downloads

How to Cite

1.
เจริญสรรพพืช เ, ตันกิตติวัฒน์ อ. หลักการเก็บรักษาเนื้อเยื่อทางชีวภาพโดยวิธีกำซาบด้วยสารพลาสติก. J Med Health Sci [Internet]. 2008 Sep. 5 [cited 2024 Mar. 29];4(2). Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmhs/article/view/61801

Issue

Section

Review Article (บทความวิชาการ)