Mother’s knowledge, latch score and satisfaction after development of the breastfeeding support service in HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center

Authors

  • Nongyao Baiya Department of Obstetric& Gynecology Nursing, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center
  • Sukwadee Ketsuwan Department of Obstetric& Gynecology Nursing, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center
  • Namtip Pachaiyapoom Department of Health Promotion Nursing, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center
  • Pawin Puapornpong Department of Obstetrics& Gynecology, Faculty of Medicine, Srinakharinwirot University

Keywords:

ระบบบริการการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่, การประเมินความรู้, คะแนนการเข้าเต้า, Breastfeeding support service, Knowledge assessment, LATCH score

Abstract

The purpose of this participatory action research was to develop a guideline of the breast feeding support service to the mothers and their families at antenatal clinic and postpartum care of HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center at Nakhon Nayok province. The study was divided into three phases. The first and third phases consisted of 8 mothers who were particularly chosen and indepth interviewed according to the guidelines. The results revealed that the breastfeeding support service were breastfeeding knowledge teaching, building in breastfeeding value, and assessment of breast and nipple problems in order to help mothers to resolve the problems at the antenatal care clinic. There were bonding and early sucking at the labor room. Rooming of mother and her infant, breast and nipple assessment, tongue-tie assessment and giving knowledge for mothers and families to help breastfeeding were performed at the postpartum ward. Six times a follow-up was done according to the ages of an infant: 7 days, 14 days, 45 days, 2 months, 4 months and 6 months, by phone and follow up at the breastfeeding clinic on the same day as the vaccination date of the infant and post partum examination in mother. For the second phase, the subjects were 20 patients and their families who were randomly chosen. The questionnaires used for data collecting were demographic data of patients and families, breastfeeding knowledge, breastfeeding efficacy, and satisfaction. The percentages, means, standard deviations and dependent t-test were used for data analysis. The result revealed that the mean score of mother’s breastfeeding knowledge was 9.2 of 11 and their scores were at least 80% which accounted for 70%. The mean of Latch score of after-breastfeeding support was significantly more than that of before-breastfeeding support (t=9.20, p < 0.01). The percentage of maternal satisfaction was 97.5. Therefore, breastfeeding support service should be practiced constantly to promote the breastfeeding in mothers and the families for more than the period of six months.

 

ความรู้ของมารดา คะแนนการเข้าเต้าและความพึงพอใจจากการพัฒนาระบบบริการการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในโรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

การวิจัยแบบมีส่วนร่วมนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางการให้บริการการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และครอบครัวของ มารดาที่คลอดบุตรที่โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี จังหวัดนครนายก ณ แผนกผู้ป่วยหลังคลอด โดยแบ่งเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 และระยะที่ 3 มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 8 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธี เจาะจง และใช้แบบสัมภาษณ์เจาะลึก ผลที่ได้คือได้รูปแบบการให้บริการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่แผนกผู้ป่วยนอกจัดการสอนให้ ความรู้เรื่องนมแม่และปลูกฝังค่านิยมนมแม่ มีการตรวจประเมินเต้านม หัวนม และแก้ไข ติดตามในรายที่ผิดปกติ ที่แผนก ห้องคลอด มีการทำ bonding และ early sucking และแผนกหลังคลอด มีการให้มารดาและลูกอยู่ด้วยกัน มีการประเมิน เต้านม หัวนม น้ำนม และช่องปากทารก และให้ความรู้มารดาพร้อมครอบครัว และช่วยเหลือการเข้าเต้า และมีการติดตาม หลังคลอดทั้งหมด 6 ครั้ง ตามอายุเด็ก คือ 7 วัน, 14 วัน, 45 วัน, 2 เดือน, 4 เดือน, 6 เดือน ทั้งทางโทรศัพท์และนัดที่ คลินิกนมแม่ ตามวันนัดฉีดวัคซีนลูก และตรวจหลังคลอดของมารดา ระยะที่ 2 ประเมินความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ก่อนและหลังการให้ความรู้เรื่องการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ประเมินคะแนนการเข้าเต้าและความพึงพอใจของมารดาหลัง คลอด โดยเก็บตัวอย่างจากกลุ่มตัวอย่าง 20 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย ทดสอบความรู้ คะแนน การเข้าเต้าและความพึงพอใจหลังการจัดรูปแบบการบริการการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ถึงในช่วงหลังคลอดระยะแรกขณะอยู่ที่ โรงพยาบาล การวิเคราะห์ทางสถิติใช้ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบด้วยค่าทีที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน ผลการวิจัยพบว่า หลังการจัดรูปแบบการให้บริการการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มารดาหลังคลอดมีคะแนนความรู้เกี่ยวกับการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เฉลี่ยเท่ากับ 9.2 จากคะแนนเต็ม 11 และส่วนใหญ่ได้คะแนนมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80 คิดเป็น ร้อยละ 70 และคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จากการประเมินการเข้าเต้า กลุ่มหลังการช่วยเหลือมี คะแนนสูงกว่ากลุ่มก่อนการช่วยเหลืออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t=9.20, p < 0.01) และในภาพรวมความพึงพอใจมากถึง มากที่สุดคิดเป็นร้อยละ 97.5 ดังนั้นจึงควรนำระบบบริการการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่มาปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยส่งเสริม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของมารดาหลังคลอดและครอบครัว

Downloads

Published

2014-01-22

How to Cite

1.
Baiya N, Ketsuwan S, Pachaiyapoom N, Puapornpong P. Mother’s knowledge, latch score and satisfaction after development of the breastfeeding support service in HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center. J Med Health Sci [Internet]. 2014 Jan. 22 [cited 2024 Jul. 1];20(2):17-23. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmhs/article/view/58734

Issue

Section

Original article (บทความวิจัย)