Quality of life and physical activities of daily living among elderly patients at HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center

Authors

  • Nongnuch Yamwong Department of Nursing, Faculty of Medicine, Srinakharinwirot University 62 Moo 7 Ongkharuk, Nakhon-Nayok 26120

Keywords:

คุณภาพชีวิต, ความสามารถในกิจวัตรประจำวัน, ผู้สูงอายุ, quality of life, activities of daily living, elderly

Abstract

A total of 245 elderly patients recruited from Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center were 147 women (60%), and 98 men (40%). The mean age was 68 years (range = 63-85, SD = 8.85), most of elderly’s religions were Buddhism (95%). The data collection was using a structured questionnaire including demographic data, activities of daily living questionnaire, and elderly quality of life index. Frequency, percentage, mean, standard deviation, and the Pearson product-moment correlation coefficient were analyzed. The result revealed that overall quality of life in the elderly was in the moderate level (63%) including physical (76.55%), psychological (52.3%), social relationship (59.8%), environmental domains (59.8%) and good level of activities daily living (86.12%). About 70 percents of the elderly have at least one chronic illness. The most common chronic illnesses including hypertension (61.3%), diabetes mellitus (32.2%), heart disease (1.2%), and chronic kidney disease (1.1%). The most common health problems were visual problems (60%), dry and itchy skin (38.5%), and bladder control problems (25%). Quality of life has positively relationship with activities of daily living (r = 0.77, p < .01) and the demographic factors including age, gender, marital status, and educational level. Income and economic status had a significant correlation with the quality of life in elderly. These findings suggested that the health care providers and caregiver of the elderly should participate in chronic illness prevention and planning health promotion activities which are appropriate with cultural context in order to improve activities of daily living and quality of life.

 

คุณภาพชีวิตและความสามารถในการทำ กิจวัตร ประจำ วันของผู้สูงอายุที่มารับบริการใน โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพฯ

วัยสูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงของร่างกายไปในทางที่เสื่อมลง เสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรังและส่งผลกระทบต่อคุณภาพ ชีวิต การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิต ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน และความสัมพันธ์ระหว่าง ปัจจัยส่วนบุคคลกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ จำนวน 245 คน เป็นเพศหญิง 147 คน (ร้อยละ 60) เป็นเพศชาย 98 คน (ร้อยละ40)อายุเฉลี่ย68 ปี(range = 63-85,SD = 8.85)ร้อยละ95 นับถือศาสนาพุทธเครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล3 ชุด คือ (1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล (2) แบบประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน และ (3) แบบวัดคุณภาพ ชีวิตของผู้สูงอายุ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 63 ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ร้อยละ 76.5 ด้านจิตใจ ร้อยละ 52.3 ด้านสัมพันธภาพทางสังคม ร้อยละ 63.4 และด้านสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 59.8 ความสามารถในการปฏิบัติ กิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุอยู่ในระดับดีคิดเป็นร้อยละ 86.12 จากการศึกษาพบว่าผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ร้อยละ 70 ซึ่งโรคที่พบบ่อย 4 ลำดับแรก ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 61.3 โรคเบาหวาน ร้อยละ 32.2 โรคหัวใจ ร้อยละ 1.2 และ โรคไตวายเรื้อรัง ร้อยละ 1.1 ส่วนใหญ่ปัญหาทางสุขภาพที่พบเกี่ยวกับการมองเห็น ร้อยละ 60 ผิวหนังแห้งและมี ผื่นคัน ร้อยละ 38.5 การควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะ ร้อยละ 22.1 โดยพบว่าคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุมีความสัมพันธ์ทางบวกใน ระดับสูงกับระดับความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ (r = 0.77, p < .01) นอกจากนี้พบว่าปัจจัยส่วน บุคคล ได้แก่ ด้านอายุ เพศ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้และฐานะทางการเงิน มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยครั้งนี้คือ บุคลากรในทีมสุขภาพ ตลอดจนผู้ดูแลผู้สูงอายุ ควรมีส่วนร่วมในการวางแผนเพื่อการเตรียมพร้อมบุคคลที่เข้าสู่วัยสูงอายุทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจรวมทั้งการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังที่เหมาะสมกับบริบทและวัฒนธรรมอาจมีผลช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุกลุ่มนี้มี ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันและมีคุณภาพชีวิตที่ดี

Downloads

Published

2014-07-29

How to Cite

1.
Yamwong N. Quality of life and physical activities of daily living among elderly patients at HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center. J Med Health Sci [Internet]. 2014 Jul. 29 [cited 2024 Dec. 19];21(1):37-44. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmhs/article/view/58680

Issue

Section

Original article (บทความวิจัย)