The mental health promotion evaluation form for depressive prevention in elderly in Chiang Rai

Authors

  • Touchnakorn Panyasai Faculty of Physical Education, Srinakharinwirot University
  • Songpol Tornee Faculty of Physical Education, Srinakharinwirot University
  • Kaysorn Sumpowthong Faculty of Public Health, Thammasat University

Keywords:

การประเมินผลรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพจิต, โรคซึมเศร้า, ผู้สูงอายุ, the evaluation model of mental health promotion, depression, elderly

Abstract

The mental health promotion evaluation form for depressive disorders prevention in elderly in Chiang Rai who attended the 3 months trial plan of the form of mental health promotion under local culture. This consisted of Tung tree cutting, prolonging activities and stimulation, Bai Sri Su Khwan, recycling and Tai Chi exercise. This study used a simple random sampling with a list of 36 subject names. The research instruments were the evaluation form under the Ottawa charter for health promotion which consisted of creating a policy for mental health promotion, creating an environment that is conducted to mental health well-being, strengthening the community and stakeholders in mental health promotions, developing personal skills in promoting mental health and modifying a health care system for promoting mental health. To evaluate the satisfaction using this form were determined by 5 experts for the content validity and the results were 0.93. This study found that health promotion form was at a high level with the mean 4.41 (SD = 0.49) and the satisfaction of the elderly who participated in the trial form was at a moderate level with the mean at 3.67 (SD = 0.30). Therefore, the creation process of the form of mental health promotion for depressive disorders prevention in the elderly with severe level based on their social culture, and understanding their distress, happiness and requirements with emphasis on activities promoting health and reducing the risk of depression in  these elderly.

 

การประเมินผลรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพจิต เพื่อป้องกันโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ จังหวัดเชียงราย

การประเมินผลรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพจิตเพื่อป้องกันการเป็นโรคซึมเศร้าระดับรุนแรงในผู้สูงอายุจังหวัด เชียงรายที่เข้าร่วมกิจกรรมการทดลองใช้รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพจิตตามแผนการทดลอง 3 เดือน ภายใต้วัฒนธรรม ของท้องถิ่น ประกอบด้วย กิจกรรมตัดตุง เครื่องสืบชะตา บายศรีสู่ขวัญ รีไซเคิล และรำไทเก๊ก กลุ่มตัวอย่างจำนวน 36 คน จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย โดยการจับฉลากรายชื่อ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินผลภายใต้กรอบแนวคิดการ สร้างเสริมสุขภาพของออตตาวา (Ottawa) ประกอบด้วย การสร้างนโยบายเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพจิต การสร้างสรรค์ สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการสร้างเสริมสุขภาพจิต การเสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็งในการสร้างเสริมสุขภาพจิต การ พัฒนาทักษะส่วนบุคคลในการสร้างเสริมสุขภาพจิต และการปรับเปลี่ยนระบบบริการสาธารณสุขในการสร้างเสริมสุขภาพจิต และแบบประเมินผลความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบผ่านผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 ท่านพิจารณาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา มีค่าเท่ากับ 0.93 สถิติที่ใช้คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่า รูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพจิต อยู่ในระดับ ดี4.41 (SD=0.49) และระดับความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่ทดลองใช้รูปแบบอยู่ในระดับปานกลาง 3.67 (SD=0.30) ดังนั้น กระบวนการสร้างรูปแบบการสร้างเสริมสุขภาพจิตเพื่อป้องกันโรคซึมเศร้าระดับรุนแรงในผู้สูงอายุ ภายใต้สังคม และวัฒนธรรมท้องถิ่น โดยการเข้าใจถึงความทุกข์ความสุข และความต้องการของผู้สูงอายุนั้น จึงสามารถทำให้เกิดความ พึงพอใจสูงสุดในการทำกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพและสามารถลดความเสี่ยงของการเกิดโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุได้

Downloads

Published

2014-12-24

How to Cite

1.
Panyasai T, Tornee S, Sumpowthong K. The mental health promotion evaluation form for depressive prevention in elderly in Chiang Rai. J Med Health Sci [Internet]. 2014 Dec. 24 [cited 2024 May 6];21(3):47-54. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmhs/article/view/58659

Issue

Section

Short communication (บทความวิจัยอย่างสั้น)