Result of Nasal Irrigation with Neti Pot in Allergic Rhinitis Patients

Authors

  • Rungsri Chinsot Ear, Nose, and Throat Nursing Department, HRH Princess Maha Chaki Sirindhorn Medical Center, Srinakharinwirot University
  • Chairat Neruntarat Department of Otorhinolaryngology, Faculty of Medicine, Srinakharinwirot University
  • Alena Santeerapharp Department of Otorhinolaryngology, Faculty of Medicine, Srinakharinwirot University

Keywords:

โรคภูมิแพ้, การล้างจมูก, กาน้ำ, allergic rhinitis, nasal irrigation, neti pot

Abstract

This study is an experimental research utilizing a group with a pre-test and post-test design that is aimed to examine the results of nasal irrigation using a neti pot in patients with allergic rhinitis and the assessments of the patients’ satisfaction.  The subjects comprised of 30 patients, between 20 - 60 years of age, seen at the ear, nose, and  throat department of the HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn Medical Center. A Visual - Analog Rating Scale (VAS) was used for testing sensory levels and to select and analyze the data The research results are as follows: 1. nasal irrigation with a neti pot in patients with allergic rhinitis and when comparing results before and after the procedure; nasal congestion symptoms were (5.47 + 1.76) and (2.77 + 2.25), itch symptoms were (4.40 + 3.10) and (1.73 + 1.95), sneeze symptoms (4.37 + 3.05) and (2.17 + 2.35), and nasal secretions (4.83 + 3.09) and (2.43 + 2.63). There was a significant difference at the 0.05 level and no complications were experienced during nasal irrigation or post irrigation.  2. The mean scores of nasal irrigation with the neti pot had shown results of “very satisfied”. As a result, nasal irrigation with a neti pot is a safe and effective treatment option for patients with allergic rhinitis there are no previous reports of this method that have been done here in Thailand.

 

ผลการล้างจมูกด้วยกาน้ำในผู้ป่วยโรคภูมิแพ้

การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง วัดผลก่อนและหลังการศึกษา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการรักษาโรค ภูมิแพ้ด้วยวิธีล้างจมูกด้วยกาน้ำ และความพึงพอใจของผู้ป่วยด้วยวิธีล้างจมูกด้วยกาน้ำโดยทำการศึกษาในผู้ป่วยที่มา รับบริการตรวจที่แผนกผู้ป่วยนอก หูคอ จมูก ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเป็น โรคภูมิแพ้โดยดูจากผล skin test positive อยู่ในช่วงอายุ20-60 ปีจำนวน 30 คน และเครื่องมือวิจัยใช้Visual-Analog Rating Scale (VAS) ในการประเมินความรู้สึกอาการต่อโรคภูมิแพ้และแบบสอบถามความพึงพอใจการล้างจมูกด้วยวิธี ใช้กาน้ำ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์หาค่าที (T-score) ผลการวิจัยพบว่าผู้ป่วยที่เป็นโรคภูมิแพ้ที่ได้รับการล้างจมูกด้วยกาน้ำได้ผลประเมินระดับอาการแน่นจมูกก่อนล้าง จมูก (5.47 ± 1.76) ระดับอาการแน่นจมูกหลังล้างจมูก (2.77 ± 2.25) ประเมินระดับอาการคันก่อนล้างจมูก (4.40 ± 3.10) ระดับอาการคันหลังล้างจมูก (1.73 ± 1.95) ประเมินระดับอาการจามก่อนล้างจมูก (4.37 ± 3.05) ระดับอาการจาม หลังล้างจมูก (2.17 ± 2.35) ประเมินระดับปริมาณน้ำมูกก่อนล้างจมูก (4.83 ± 3.09) ระดับปริมาณน้ำมูกหลังล้างจมูก (2.43 ± 2.63) อาการ 4 อย่างดังกล่าว มีอาการลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) และไม่มีอาการแทรกซ้อนขณะ และหลังล้างจมูก มีความพึงพอใจในการล้างจมูกด้วยกาน้ำในระดับมากที่สุด

Downloads

How to Cite

1.
Chinsot R, Neruntarat C, Santeerapharp A. Result of Nasal Irrigation with Neti Pot in Allergic Rhinitis Patients. J Med Health Sci [Internet]. 2015 Jun. 3 [cited 2024 Nov. 23];22(1):34-9. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmhs/article/view/58637

Issue

Section

Original article (บทความวิจัย)