Factors contributing to the voluntary counseling and HIV testing for persons at risk of HIV infection in Thailand

Authors

  • Bang-on Thepthien ASEAN institute for health development, Mahidol University
  • Supattra Srivanichakorn Disease control department, Ministry of public health
  • Kanya Apipornchaikul Institute for Population and Social Research, Mahidol University
  • Pakwimon Subhaluksuksakorn Institute of Medicine Suranaree University of Technology
  • Phusit Phusit Prakongsai International Health Policy Program

Keywords:

เอชไอวี, บริการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีโดยสมัครใจ, ความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเอชไอวี, HIV, voluntary counseling and testing, key affected populations

Abstract

Thailand has a policy to support access to voluntary HIV counseling and testing (VCT) for all its citizens.  Thais are eligible for two free VCT sessions per year and this has increased clinic uptake, but the total is still well below the target coverage (10% testing for the general population and 90% for the higher-risk populations). The objective of this research was to study the factors which enabled persons at risk of HIV to obtain VCT in Thailand. This research was a cross-sectional study and used questionnaires to ask respondents about risk behavior, self-risk assessment, benefits coverage, measures and service system, attitudes toward VCT, self-stigma, prejudice toward others, and experience of discrimination.  Data were collected during May to July 2013 in eight, purposively-selected provinces which are the part of the focus area for the 2012-16 National AIDS Program Plan (NAP). The method for selecting respondents used time-location quota sampling to achieve a total sample of 751 persons. This study found that proportion who had VCT in the year prior to the survey was 56%.   The significant enabling factors associated with VCT were having someone encourage them to go for testing and receiving information about VCT.  In addition, other significant factors for FSW were self-assessed risk for HIV and having had risk behavior. Other significant factors for MSM were awareness of eligibility for VCT and age 24 years or older. Thus, in order to achieve the VCT target for higher-risk populations by 2016, there should be special mechanisms to inform the different groups about the VCT service and motivation to go for VCT, along with improvements in outreach services to make VCT more convenient for Key affected populations include an annual health check.

 

ปัจจัยที่เอื้อต่อการเข้ารับบริการขอคำปรึกษาโดย สมัครใจและการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีสำหรับ กลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี ของประเทศไทย

การศึกษาปัจจัยที่เอื้อต่อการเข้ารับบริการขอคำปรึกษาโดยสมัครใจ และการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีสำหรับ กลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีในประเทศไทย โดยการสำรวจภาคตัดขวางใช้แบบสอบถามสัมภาษณ์โดย นักวิจัย ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม 2556 พื้นที่ศึกษาใช้หน่วยการเลือกระดับจังหวัด แบบเจาะจงจากจังหวัดที่เป็นพื้นที่เป้าหมายของแผนยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ พ.ศ. 2555-2559 จำนวน 8 จังหวัด (แบ่งตามภูมิภาค) จาก 31 จังหวัด เลือกตัวอย่างโดยใช้วิธีtime location sampling เพื่อรวบรวมข้อมูลของสถานที่ เวลา และจำนวนกลุ่มเป้าหมาย ผลการศึกษาพบว่าการเข้าถึงบริการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีปีที่ผ่านมาในภาพรวม ร้อยละ 56 เกือบทั้งหมดได้รับทราบผลตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีและมากกว่าร้อยละ 80 มีความพึงพอใจต่อบริการที่ ได้รับ แต่ยังมีจุดอ่อนเรื่องการเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการได้ซักถามเรื่องเอชไอวีปัจจัยที่เกี่ยวข้องมีผลต่อการตรวจเลือดเพื่อ หาเชื้อเอชไอวีในปีที่ผ่านมา พบว่าปัจจัยการมีคนชักชวนไปตรวจเลือด และได้รับข้อมูลการตรวจเลือด เป็นปัจจัยสำคัญที่มี ผลต่อการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีในปีที่ผ่านมาทุกกลุ่ม นอกจากนี้ปัจจัยการประเมินตนเองว่ามีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการ ติดเชื้อเอชไอวีเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีในปีที่ผ่านมาในพนักงานบริการ ส่วนกลุ่มชายที่มี เพศสัมพันธ์กับชายมีปัจจัยที่มีผลต่อการตรวจเลือดเพื่อหาเชื้อเอชไอวีในปีที่ผ่านมา คือ การรับรู้เรื่องสิทธิประโยชน์และอายุ มากกว่าหรือเท่ากับ 24 ปีดังนั้น เพื่อให้การตรวจเลือดหาเชื้อเอชไอวีในกลุ่มเฉพาะสามารถบรรลุเป้าหมายร้อยละ 90 ใน ปี2559 ควรหากลยุทธ์เพื่อให้ข้อมูล และชักชวนมารับบริการ รวมทั้งพัฒนาระบบบริการตรวจเลือดเชิงรุกให้กับกลุ่มเฉพาะ เข้าถึงบริการมากขึ้น ร่วมกับการตรวจสุขภาพประจำปี

Downloads

How to Cite

1.
Thepthien B- on, Srivanichakorn S, Apipornchaikul K, Subhaluksuksakorn P, Phusit Prakongsai P. Factors contributing to the voluntary counseling and HIV testing for persons at risk of HIV infection in Thailand. J Med Health Sci [Internet]. 2015 Jun. 3 [cited 2025 Jan. 10];22(1):11-20. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmhs/article/view/58635

Issue

Section

Original article (บทความวิจัย)