Heath profile of elderly people through active ageing framework in a community, Nakornnayok province

Authors

  • Duangduan Duangduan Rattanamongkolgul Faculty of Nursing, Srinakharinwirot University
  • Somsamai Sungkamanee Choomphol Subdistrict Health Promoting Hospital, Ongkharak District, Nakorn Nayok Province
  • Suthee Rattanamongkolgul Faculty of Medicine, Srinakharinwirot University
  • Wimonwan Lertwongpaopun Faculty of Nursing, Srinakharinwirot University
  • Sidapat Sukchawee Faculty of Nursing, Srinakharinwirot University

Keywords:

การวินิจฉัย, กลไกการเกิดโรค, การรักษา, immune thrombocytopenia, diagnosis, pathophysiology, treatment

Abstract

Health status of people in a community should be inspected in order to entering an ageing society. A health profile survey is an important first step. This study aimed to determine the health profile of an elderly population by using the active ageing framework. The survey was conducted in residents aged 60 or more in the Choomphol subdistrict, Ongkharak, Nakhonnayok, Thailand. Volunteers were selected by a stratified random sampling technique. The health profile questionnaire was used for interviewing and data collecting Among 195 participants, 59.0% were females and 41.0% were males, aged 60-94 years. According to active ageing framework health dimension, the first dimension – health condition- the results showed that 43.6% had health problems including visual problems (62.1%), memory loss (48.7%), sleeping problem (38.5%), depression (13.3%), dementia (21.6%). Their self dependency measured by Barthel ADL Index, the results indicated that 1.0% had no or little self dependence. In the second dimension security dimension, 60% were living with their spouse and their offspring played a major role in their living security and financial support. On the participation dimension, 65.6% engaged in religious practice and 55.9% engaged in community service. The presenting survey results emphazied further preparation for these 3 dimensions within the context of community.

 

ภาพสุขภาวะของผู้สูงอายุผ่านมุมมอง พฤฒพลังในชุมชนจังหวัดนครนายก

การเตรียมชุมชนเพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายุจำเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับสุขภาวะของคนในพื้นที่ การสำรวจ ภาพสุขภาพของผู้สูงอายุจึงเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญ ดังนั้น การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพสุขภาวะของ ผู้สูงอายุโดยผ่านมุมมองตามแนวคิดพฤฒพลัง ศึกษา ในประชากรผู้สูงอายุ จำนวน 195 คน ของพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอองครักษ์จังหวัดนครนายก กลุ่มตัวอย่างถูกคัดเลือกโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ด้วย แบบสอบถาม ผลการศึกษากลุ่มตัวอย่าง 195 คน เป็นหญิง 59.0% และชาย 41.0% อายุ 60-94 ปีจากแนวคิด พฤฒพลัง 3 เสาหลัก พบว่า ด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุมีการรับรู้ภาวะสุขภาพตนเองในระดับดี(ร้อยละ 43.6) พบ ปัญหาสุขภาพกายคือ ด้านการมองเห็น (ร้อยละ 62.1) ด้านความทรงจำ (ร้อยละ 48.7) ด้านการนอนหลับ (ร้อยละ 38.5) ภาวะซึมเศร้า (ร้อยละ 13.3) ภาวะสมองเสื่อม (ร้อยละ 21.6) ความสามารถเชิงปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน พื้นฐาน พบว่าผู้สูงอายุร้อยละ 1.0 ที่ต้องการการพึ่งพาตั้งแต่ระดับมากถึงพึ่งพาทั้งหมด ด้านการมีหลักประกัน ความมั่นคง ร้อยละ 60.0 ของผู้สูงอายุยังมีคู่สมรสอยู่ด้วย บุตรมีบทบาทสำคัญมากที่สุดในการเป็นหลักประกันความมั่นคง ของผู้สูงอายุ ร้อยละ 77.4 ของผู้สูงอายุขาดหลักประกันทางด้านการเงิน ด้านการมีส่วนร่วม พบว่าการเข้าร่วมกิจกรรมกับ ชุมชนของผู้สูงอายุส่วนใหญ่จะเป็นกิจกรรมทางด้านศาสนา (ร้อยละ 65.6) รองลงมาเป็นกิจกรรมการพัฒนาชุมชน (ร้อยละ 55.9) โดยสรุป การวิเคราะห์ภาพสุขภาพทำให้เห็นว่าการเตรียมผู้สูงอายุเพื่อส่งเสริมภาวะพฤฒพลังจะต้องดำเนินการเพื่อ ป้องกันปัญหาในสามด้าน ให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชน

Downloads

Published

2015-08-19

How to Cite

1.
Duangduan Rattanamongkolgul D, Sungkamanee S, Rattanamongkolgul S, Lertwongpaopun W, Sukchawee S. Heath profile of elderly people through active ageing framework in a community, Nakornnayok province. J Med Health Sci [Internet]. 2015 Aug. 19 [cited 2024 Dec. 19];22(2):48-60. Available from: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmhs/article/view/58625

Issue

Section

Review article (บทความวิชาการ)