การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบบูรณาการ จังหวัดสระบุรี

ผู้แต่ง

  • นิตยา ภาคมาลี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี
  • สุรัสดา นะสีดา สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี
  • สรวงสุดา เบ้าเทศ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี

คำสำคัญ:

ระบบการดูแลระยะยาว, การบูรณาการ, ผู้สูงอายุ

บทคัดย่อ

บทนำ : จังหวัดสระบุรีมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 19.25 เพื่อให้การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุ ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งจังหวัด จึงเกิดการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวขึ้น

วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ จังหวัดสระบุรี

วัสดุและวิธีการศึกษา : การวิจัยและพัฒนา ระหว่างเดือนมีนาคม-กันยายน 2567 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรเครือข่าย จำนวน 362 คน ผู้ดูแล จำนวน 128 คน ผู้สูงอายุ จำนวน 128 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา และ Paired t-test  

ผลการศึกษา : การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว มี 5 ประเด็น ดังนี้ การกำหนดบทบาทเครือข่าย พัฒนาระบบการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุ การสนับสนุนจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุและพัฒนาชมรมให้เป็นโรงเรียนผู้สูงอายุ พัฒนาการจัดบริการผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลในระยะท้าย หลังพัฒนาเครือข่ายมีการรับรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโดยรวมเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) และมีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุโดยรวมเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ผู้ดูแลมีศักยภาพด้านการทำงานโดยรวมเฉลี่ย 4.09 (SD = 1.11) มีศักยภาพด้านความสามารถในการดูแลผู้สูงอายุระดับสูง (4.37±0.76) และผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 50.0

สรุป : การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการ สามารถดูแลผู้สูงอายุได้อย่างครอบคลุม ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้น

References

กองแผนงาน กรมอนามัย. โครงการเฝ้าระวังและพัฒนาสารสนเทศสุขภาพผู้สูงอายุ. [อินเตอร์เน็ต] 2566. [เข้าถึงเมื่อ 4 มีนาคม 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://doc.anamai.moph.go.th

จันจิรา อินทจิตร์, ฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญ. การดำเนินงานผู้สูงอายุของศูนย์บริการสาธารณสุข กรณีศึกษาผู้จัดการระบบ และผู้ช่วยเหลือดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในเขตเทศบาลนครแห่งหนึ่งของประเทศไทย. วารสารพยาบาลทหารบก 2564; 22(2): 383-92.

อมาวสี อัมพันศิริรัตน์, มาริสา สุวรรณราช, ภาวดี เหมทานนท์, พรฤดี นิติรัตน์, ประกาย เพชรบุญ, กฤษณกมล รักญาติสกุล. The Management of Elderly Care System in Community. Journal of Nursing and Health Sciences. 2020; 14(3): 10-21.

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี. ข้อมูล HDC จังหวัดสระบุรี. [อินเตอร์เน็ต] 2565. [เข้าถึงเมื่อ 27 กรกฎาคม 2567]. เข้าถึงได้จาก https://sro.moph.go.th

Kemmis S, McTaggar M, Eds. The Action Research planner. Victoria, Australia: Deakin University, 1988.

Wayne WD. Biostatistics: A Foundations for Analysis in the Health Sciences. 6th ed. New York: Wiley & Sons, 1995.

ศิราณี ศรีหาภาค, ธารา รัตนอำนวยศิริ, นวลละออง ทองโคตร. รูปแบบการพัฒนานโยบายสาธารณะกองทุนดูแลผู้สูงอายุระยะยาวในชุมชนอีสาน ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน. วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ 2566; 16(1): 165-78.

สายทิพย์ เป็นคุณ, พระมหาวิโรจน์ คุตฺตวีโร, สงัด เชียนจันทึก, พระเมธาวินัยรส, สายัณห์ อินนันใจ. นวัตกรรมเชิงชุมชนสำหรับดูแลสุขภาวะผู้สูงอายุโดยใช้ครอบครัวและวัดเป็นฐานในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ 2565; 7(9): 374-84.

ศศินันท์ สายแวว, วรพจน์ พรหมสัตยพรต. การพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบลนาเจริญ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารวิชาการสาธารณสุขชุมชน 2564; 7(04): 187-97.

Likert R. "The Method of Constructing an Attitude Scale," Reading in Attitude Theory and Measurement. edited by Martin Fishbein. New York: John Wiley & Son, 1967.

Best JW. Research in Education. Englewood Cliffs. New Jersey: Prentice Hall Inc, 1970.

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการใช้เครื่องมือด้านสุขภาพจิตสำหรับบุคลากรสาธารณสุขในโรงพยาบาลชุมชน (คลินิกโรคเรื้อรัง) ฉบับปรับปรุง. นนทบุรี: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2558.

Pattanaphesaj J. Health-related quality of life measure (EQ-5D-5L): measurement property testing and its preference-based score in Thai population [Doctoral dissertation]: Mahidol University, 2014.

รัถยานภิศ รัชตะวรรณ, เบญจวรรณ ถนอมชยธวัช. ตัวแบบในการดูแลผู้สูงอายุเชิงบูรณาการ. วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้ 2563; 7(2): 100-13.

สุมิตรา วิชา, ณัชพันธ์ มานพ, สุภา ศรีรุ่งเรือง, เบญจพร เสาวภา, ศิริรัตน์ ศรีภัทรางกูร, ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์, ธณกฤษ หมื่นก้อนแก้ว. การศึกษารูปแบบเครือข่ายบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และกลุ่มติดเตียง ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฮ่องห้า อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง. HCU Journal 2018; 22(43-44): 70-85.

ณัฐพร ประกอบ, ไพจิตรา ล้อสกุลทอง, สมฤทธิ์ เนตรทิพย์, บุญถี่ ลือยศ. การพัฒนาศูนย์กลางบูรณาการสร้างเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุในชุมชน โดยใช้ปัวต้นแบบระบบบริการการดูแลระยะยาวภายใต้บริบทของ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชปัว จังหวัดน่าน. Journal of Humanities and Social Sciences Nakhon Phanom University 2018: 63-71.

จินตนา อาจสันเที๊ยะ, รัชณีย์ ป้อมทอง. แนวโน้มการดูแลผู้สูงอายุในศตวรรษที่ 21: ความท้าทายในการพยาบาล. วารสารพยาบาลทหารบก 2561; 19(1): 39-46.

ประเสริฐ เก็มประโคน, มณฑิชา เจนพานิชทรัพย์, วิไลพร คลีกร. การพัฒนาระบบการดูแลระยะยาวและเข้าถึงบริการ สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง พื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9; วารสารส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม 2565; 16(1): 140-55.

นลินี เกิดประสงค์, จันทิมา นวะมะวัฒน์. ระบบและกลไกเพื่อรองรับสังคมสูงวัยระดับตำบล. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2565; 30(1): 49-63.

Feng Z, Glinskaya E, Chen H, Gang S, Qiu Y, Xu J, et al. Long-term care system for older adults in China: policy landscape, challenges, and future prospects. The Lancet. 2020; 396(10259): 1362-72.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-31

How to Cite

1.
ภาคมาลี น, นะสีดา ส, เบ้าเทศ ส. การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบบูรณาการ จังหวัดสระบุรี. MNST Med J [อินเทอร์เน็ต]. 31 ธันวาคม 2024 [อ้างถึง 1 พฤษภาคม 2025];8(2):80-91. available at: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/MNSTMedJ/article/view/276283