การรักษาฟันหน้าแท้ปลายรากเปิดที่ได้รับบาดเจ็บ โดยวิธีตัดเนื้อเยื่อในบางส่วน และบูรณะโดยการยึดชิ้นส่วนฟันกลับเข้าตำแหน่งเดิม : รายงานผู้ป่วย

ผู้แต่ง

  • ธนาภรณ์ ทองคล้ำ กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลบ้านลาด

คำสำคัญ:

ฟันที่ได้รับบาดเจ็บ, ฟันแท้ปลายรากเปิด, การตัดเนื้อเยื่อในบางส่วน

บทคัดย่อ

อุบัติเหตุบริเวณใบหน้าและขากรรไกรพบได้บ่อยในเด็ก ซึ่งบริเวณฟันหน้าเป็นตำแหน่งที่พบได้มากที่สุด  ช่วงที่พบอุบัติการณ์มักเกิดก่อนอายุ 9 ปี เป็นช่วงอายุที่ปลายรากฟันหน้ายังสร้างไม่เสร็จสมบูรณ์ ทำให้การรักษารากฟันมีความซับซ้อน นอกจากนี้พฤติกรรมของผู้ป่วยก็มีความสำคัญในการวางแผนการรักษา ซึ่งการรักษาที่ไม่ซับซ้อนและทำได้อย่างรวดเร็วจึงเป็นการรักษาที่เหมาะสม บทความนี้นำเสนอเคสผู้ป่วยเด็กหญิงไทย อายุ 8 ปี ประสบอุบัติเหตุบาดเจ็บบริเวณฟันตัดแท้บนขวาซี่กลาง (ซี่11) โดยฟันหักทะลุเนื้อเยื่อในและปลายรากฟันเปิด ผู้ป่วยได้รับการรักษาโดยวิธีตัดเนื้อเยื่อในบางส่วน และ ใช้แคลเซียมไฮดรอกไซด์เป็นวัสดุปิดทับเนื้อเยื่อใน จากนั้นบูรณะฟันที่หักด้วยการยึดชิ้นส่วนฟันกลับเข้าตำแหน่งเดิม การติดตามผลการรักษาเป็นเวลา 1 ปี ผลการรักษาเป็นที่น่าพอใจ คนไข้ไม่มีอาการปวดฟัน ภาพรังสีพบปลายรากฟันสร้างเสร็จสมบูรณ์ และ ไม่มีพยาธิสภาพปลายราก

Author Biography

ธนาภรณ์ ทองคล้ำ, กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลบ้านลาด

อุบัติเหตุบริเวณใบหน้าและขากรรไกรพบได้บ่อยในเด็ก ซึ่งบริเวณฟันหน้าเป็นตำแหน่งที่พบได้มากที่สุด  ช่วงที่พบอุบัติการณ์มักเกิดก่อนอายุ 9 ปี เป็นช่วงอายุที่ปลายรากฟันหน้ายังสร้างไม่เสร็จสมบูรณ์ ทำให้การรักษารากฟันมีความซับซ้อน นอกจากนี้พฤติกรรมของผู้ป่วยก็มีความสำคัญในการวางแผนการรักษา ซึ่งการรักษาที่ไม่ซับซ้อนและทำได้อย่างรวดเร็วจึงเป็นการรักษาที่เหมาะสม บทความนี้นำเสนอเคสผู้ป่วยเด็กหญิงไทย อายุ 8 ปี ประสบอุบัติเหตุบาดเจ็บบริเวณฟันตัดแท้บนขวาซี่กลาง (ซี่11) โดยฟันหักทะลุเนื้อเยื่อในและปลายรากฟันเปิด ผู้ป่วยได้รับการรักษาโดยวิธีตัดเนื้อเยื่อในบางส่วน และ ใช้แคลเซียมไฮดรอกไซด์เป็นวัสดุปิดทับเนื้อเยื่อใน จากนั้นบูรณะฟันที่หักด้วยการยึดชิ้นส่วนฟันกลับเข้าตำแหน่งเดิม การติดตามผลการรักษาเป็นเวลา 1 ปี ผลการรักษาเป็นที่น่าพอใจ คนไข้ไม่มีอาการปวดฟัน ภาพรังสีพบปลายรากฟันสร้างเสร็จสมบูรณ์ และ ไม่มีพยาธิสภาพปลายราก

References

Peerasak Malikaew RGW, Aubrey Sheiham. Prevalence and factors associated with traumatic dental injuries (TDI) to anterior teeth of 11-13 year old Thai children. Community Dent Health. 2023;40(4):222-7.

Krastl G, Weiger R. Vital pulp therapy after trauma. ENDO - Endodontic Practice Today. 2014;8:293-300.

Manal Matoug-Elwerfelli ASE, Monty Duggal, Huei Jinn Tong, Hani Nazzal. Vital pulp treatment for traumatized permanent teeth: A systematic review. International Endodontic Journal. 2022;55(6):613-29.

Najmeh Akhlaghi AK. Outcomes of vital pulp therapy in permanent teeth with different medicaments based on review of the literature. Dent Res J (Isfahan). 2015;12:406-17.

Hanna SN PAR, Prichard J. Vital Pulp Therapy an Insight Over the Available Literature and Future Expectations. Eur Endod J. 2020;5:46-53.

Hermann B. Calciumhydroxid als mittel zum behandlung und fullung von wurzelkanalen. Univ Wurzburg Med, Dissertation.1920.

Torabinejad M WT, Pitt Ford TR. Sealing ability of a mineral trioxide aggregate when used as a root end filling material. J Endod. 1993;19(12):591-5.

Soukaina El Kharroubi caSD, 1 Bouchra Doumari,1 Kaoutar Laslami,1 and Mouna Jabri. A Partial Pulpotomy in Traumatized Permanent Incisors With Pulp Exposure. Cureus. 2023;15.

Cvek M. Partial Pulpotomy in Crown - Fractured Incisors - Results 3 to 15 Years After Treatment. International journal of oral sciences and dental medicine. 1993;27.

Navyasri Kadali RKA, Vineeth Guduri, Ramaraju AV, Suresh Sajjan MC, Rudraraju Venkateswara Raju. Mineral Trioxide Aggregate: an overview of composition, properties and clinical applications. International Journal of Dental Materials 2020:11-8.

Navya Sri Kadali RKA, Ramaraju AV, Suresh Sajjan, Satyanarayana Raju, Mantena RVR. An overview of composition, properties, and applications of Biodentine. International Journal of Dental Materials. 2021:120-6.

Abuelniel G, Duggal M, Kabel N. A Comparison of MTA and Biodentine as Medicaments for Pulpotomy in Traumatized Anterior Immature Permanent Teeth: A Randomized Clinical Trial. Dental Traumatology. 2020;36.

Marseille A. Biodentine: from biochemical and bioactive properties to clinical applications. Giornale Italiano di Endodonzia. 2016;30(2):81-8.

Shazra Fatima ZR. Tooth Fragment Reattachment: Interim or Permanent Solution? The Traumaxilla. 2022;4:35-9.

Sharmin DD TE. Evaluation of the effect of storage medium on fragment reattachment. Dent Traumatol. 2013;29:99-102.

Cecilia Bourguignon NC, Eva Lauridsen, Marie Therese Flores, Anne C. O'Connell, Peter F. Day, Georgios Tsilingaridis, Paul V. Abbott, Ashraf F. Fouad, Lamar Hicks, Jens Ove Andreasen, Zafer C. Cehreli, Stephen Harlamb, Bill Kahler, Adeleke Oginni, Marc Semper, Liran Levin. International Association of Dental Traumatology guidelines for the management of traumatic dental injuries: 1. Fractures and luxations. Dental Traumatology. 31 May 2020;36(4):314-30.

Srilatha JS, Chhasatia N, Rani PJ, Mathur E. Reattachment of fractured anterior teeth-determining fracture strength using different techniques: an in vitro study. J Contemp Dent Pract. 2012:61-5.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-29