การใช้กลุ่มยาจิตเวชในหญิงตั้งครรภ์
บทคัดย่อ
การใช้กลุ่มยาจิตเวชในหญิงตั้งครรภ์พบได้บ่อย ทั้งผู้ป่วยกลุ่มเดิมที่ใช้ยารักษาอาการอย่างต่อเนื่อง หรือผู้ป่วยที่มีอาการในระหว่างการตั้งครรภ์หรือหลังคลอดยาจิตเวชส่วนใหญ่สามารถผ่านรกเข้าสู่ทารกในครรภ์มารดาส่งผลต่อระบบประสาทส่วนกลางและพัฒนาการทางสมองของทารกตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดาจนถึงระยะหลังคลอด อย่างไรก็ตามการศึกษาความเป็นพิษของยาที่มีต่อทารกในครรภ์ทำได้ค่อนข้างยาก หากไม่พบรายงานว่ายาตัวใดมีผลต่อทารกในครรภ์มารดามาก่อน ไม่ได้แสดงว่ายาดังกล่าวนั้นมีความปลอดภัยต่อทารกในครรภ์ รวมทั้งควรคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดต่อมารดาที่ไม่ได้รับการรักษา ซึ่งหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะทางจิตเภทที่ไม่ได้รับการรักษาอาจมีความเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย ได้แก่ การดูแลตัวเองหรือการตัดสินใจบกพร่อง การทำอะไรอย่างหุนหันพลันแล่น รวมทั้งผลกระทบต่อทารกในครรภ์หรือทารกแรกคลอด ได้แก่ การทำแท้ง การทอดทิ้งเด็กหรือการทำร้ายเด็ก ดังนั้นผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตเภทที่รุนแรงหรือมีอาการกำเริบอยู่บ่อยครั้งควรได้รับยารักษาช่วงระหว่างการตั้งครรภ์และหลังคลอด บทความนี้เป็นการรวบรวมข้อมูลแนวทางในการเลือกใช้ยาที่เหมาะสมสำหรับหญิงตั้งครรภ์ในการรักษาโรคทางด้านจิตเภท ทั้งโรคซึมเศร้า โรคจิตเภท โรคอารมณ์สองขั้ว โรควิตกกังวลหรือนอนไม่หลับ เพื่อให้ผู้ป่วยหญิงตั้งครรภ์มีความปลอดภัยสูงสุดในการใช้ยาในกลุ่มจิตเวช
References
2. Thomson PDR. FDA Use-in-Pregnancy Ratings. Perinatology [online] 2003[Cited 2021March8];57:35-39. Available from: www.perinatology.com/exposures/Drugs/FDACategories.htm
3. มาโนช หล่อตระกูล. การใช้ยาจิตเวชในทางคลินิก:ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล; พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร; 2560.
4. Cuijpers P., Munoj R.F., Clarke G.N., Lewinsohn P.M. Psychoeducational treatment and prevention of depression : the Coping with Depression Course thirty years later. Clin Psychol Rev 2005;29, 449-58.
5. Katherine L., Deborah A., Eric S., Paul S., Alan J., Henrietta L., et al. Risk-Benefit Decision Making for Treatment of Depression During Pregnancy. Am J Psychiatry 2000;157:1933–1940.
6. Dunkel, S. C., Tanner L. Anxiety depression and stress in pregnancy: implications for mothers, children, research, and practice. Curr Opin Psychiatry 2012;25(2),141-8.
7. Rachel M., Pingsheng W., Richard C., William O., William D., Tina V., et al. Maternal antidepressant use and adverse outcomes:a cohort study of 228,876 pregnancies, Am J Obstet Gynecol 2012;207(1): 1–49.
8. London M. L., Ladewig P. W., Ball J.W., Bindler R. C.Venlafaxine : more dangerous than most Selective serotonergic antidepressants. Prescrire international2016;25(170):96-9.
9. Hedvig N., Marleen M., Olav S., Gideon K., Adrienne E., Malin E. Pregnancy Outcome After Exposure to Antidepressants and the Role of Maternal Depression. J Clin Psychopharmacol 2012;32:186-194.
10. Thomas R., Adrienne E., Orr S.T., James S.A., Prince C.B. Newer antidepressants in pregnancy and rates of major malformations: a meta-analysis of prospective comparative studies. Pharmacoepidemiology and Drug Safety 2005; 14: 823–827.
11. Sheila W., Shaila M., Maria R., Katherine F., Annie J. Antipsychotic Medication During Pregnancy and Lactation in Women With Schizophrenia: Evaluating the Risk. Can J Psychiatry 2002;47(10):959-65.
12. Adrienne E., Drienne E.,Use and Safety of Antipsychotic Drugs During Pregnancy. Journal of Psychiatric Practice 2009;15(3):183-92.
13. Zandra N., Per D. Pregnancy Exposure to Olanzapine, Quetiapine, Risperidone, Aripiprazole and Risk of Congenital Malformations. Basic & Clinical Pharmacology & Toxicology 2015;116:315–320.
14. Jeffrey N., Martha R., Lindsay D. Jennifer D., Aquila J., Stephanie W., et al. Atypical Antipsychotic Administration During Late Pregnancy: Placental Passage and Obstetrical Outcomes.Am J Psychiatry 2007;164:1214–20.
15. Kramer A., Knoppert-Van K., Bipolar and pregnant? No problem! A clinical evaluation of lithium use during pregnancy. European Neuropsychopharmacology 2003;13(4):246-59.
16. Elisabetta P.,Krista F., Brian T. , Jacqueline M., Rishi J., Helen M., et al.Lithium Use in Pregnancy and the Risk of Cardiac Malformations. N Engl J Med 2017;376(23):2245–54
17. Sima I., Page B., Management of epilepsy during pregnancy. Ther Adv Neurol Disord 2016;9(2) :118–29.
18. Torbjorn T., Hai X., Dina B. Major congenital malformations in children of women with epilepsy. Seizure: Eur J Epilepsy 2015;10:488-93.
19. Kessler R., Keller M., Wittchen H. The epidemiology of generalized anxiety disorder. PsychiatrClinNorth Am2001;1:19-39.
20. Lisa R., Antonio A., Régis V., Barry P., Gideon K., Thomas R. Benzodiazepine use in pregnancy and major malformations or oral cleft: meta¬-analysis of cohort and case¬control studies. BMJ Clinical Research 1998;317:839-43.
21. Robert M., Chairperson B., Gail M., Daniel A., Philip D., Douglas N., et al.Use of Psychoactive Medication During Pregnancy and Possible Effects on the Fetus and Newborn. American Academy of Pediatrics 2000;105(4):880-7.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในมหาราชนครศรีธรรมราชเวชสาร ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในมหาราชนครศรีธรรมราชเวชสาร ถือเป็นลิขสิทธิ์ของมหาราชนครศรีธรรมราชเวชสาร หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารมหาราชนครศรีธรรมราชเวชสาร ก่อนเท่านั้น