TAKRAWDIGITAL APPICATION IN SPORTS PROMOTION LOTTO MODEL OF THAILAND PROJECT: CASE STUDY

Authors

  • Chaiyasith PAVILAS Kasem Bundit University
  • Chalerm CHAIWATCHARAPORN
  • Dome PHUMIDIT
  • Nutthaporn AWILAI
  • Boonsak LORHPIPATTANA

DOI:

https://doi.org/10.14456/jsst.2021.15

Keywords:

Sports Promotion Lotto, Takrawdigital App., Sports Fundraising

Abstract

     This research aimed to invent and develop software for TakrawDigital App. Version 0.3 (18) Sports Promotion Lotto Model of Thailand (SPLMT) for professional Takraw Thailand League 2021 events. By the main Website Lotto Application of Thailand and Mobile Application via Android (PlayStore) and iOS (AppStore) systems were used in TakrawDigital Platform corresponding with Takraw Association of Thailand.
    The innovative project was the official launch by organizing workshop with stakeholders at Sports Authority of Thailand (SAT). It was conducted on key informants as experts, by mean of specialists of 5 sports association of Thailand such as Takraw sports, Futsal, Muay Thai boxing, Volleyball and e-Sports, including media and sports organizations representatives to create knowledge build understanding with interviewed in the focused group and score ranging by Google form during the seminar.

    Conclusion, the result was shown that the majority of participants (91.7%) accepted this TakrawDigital app. at a high level and could use it as a digital sports marketing tool to change and create a culture of viewing and cheering. This implies that the model is likely to be useful helping to promote and develop the national sports by participating in fundraising from people who love sports. Finally, SPLMT feasibility project was funded by SAT, including reviewed by Human research ethics committee, Kasem Bundit University (code P002/63X), Thailand.

(Journal of Sports Science and Technology 2021; 21 (2):110-124)
(Received: 14 June 2021 , Revised: 8 July 2021, Accepted: 9 July 2021)
Corresponding author: Asst.Prof. Chaiyasith PAVILAS, Ph.D.
Faculty of Sports Science, Kasem Bundit University 1
E-mail: [email protected]

Author Biographies

Chaiyasith PAVILAS, Kasem Bundit University

ประวัติและผลงานวิชาการ                                                 

 

               

 

 

 

 

 

 

ผศ.ดร.ชัยสิทธิ์  ภาวิลาส

คุณวุฒิการศึกษา

 

 

 

  • ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2561                                          
  • ระดับปริญญาเอก : วท.ด. (วิทยาศาสตร์การกีฬา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ. 2558
  • ระดับปริญญาโท : วท.ม. (สรีรวิทยาการออกกำลังกาย) มหาวิทยาลัยมหิดล ปี พ.ศ. 2530
  • ระดับปริญญาตรี : วท.บ. (เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยมหิดล ปี พ.ศ. 2525

หลักสูตรที่เข้ารับการอบรม (Certificate)

 

 

 

  • หลักสูตร “Towards the Development of Sport–Industry in  Asia” organized  by

The ICHPER.SD Asia Congress Organizing Committee, 20 – 23 March 2003.

  • หลักสูตร “Computer and Internet Seminar and Workshop for Administration” organized by Loxley Information Company Limited, 9-10 November
  • หลักสูตร “Monitoring and  Evaluation  for  Successful Project and Management” organized  by  EDP - Education Australia and AusAID, 22 January – 2 February 
  • หลักสูตร “The Administration Development in Level 1” organized by  National 

Institute of Development Administration (NIDA), 22 May – 11 August 2000.

หน้าที่การทำงานและประสบการณ์

 

 

 

  • ประธานคณะกรรมการฝ่ายวิจัย และผู้เชี่ยวชาญประจำคณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปี 2561 – ปัจจุบัน
  • รองคณบดี คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต ปี 2556 - 2560
  • รองผู้อำนวยการศูนย์ทดสอบ วิจัย วัสดุและอุปกรณ์การกีฬา คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2551 - 2555

  • ผู้อำนวยการกองวิจัยและพัฒนากีฬา ศูนย์วิทยาศาสตร์การกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทย

 ปี 2543 - 2550

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ได้รับ

 

 

  • พ.ศ. 2550 จัตุรถาภรณ์มงกุฎไทย
  • พ.ศ. 2545 เบญจมาภรณ์ช้างเผือก
  • พ.ศ. 2542 เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย

การศึกษาดูงานด้านกีฬาในต่างประเทศ

 

 

 

 

  • S. Olympic Training Center, Colorado Spring and United States Sports Academy, Colorado and Alabama (2005).
  • UK Sport, coaching program (Sport England, BOA, Sport coach UK, English Institute of Sport). London, Leeds and Loughborough (2003).
  • Sport Science Institutes (NSW Institute of Sport, The University of Sydney, Victorian institute of sport, Victoria University). Sydney and Melbourne (2003).
  • International Health, Racquet and Sports Club Association (IHRSA) 2003. San Francisco, CA. (2003).
  • Human thermoregulation and research training program, Department of Biomedical Science, University of Wollongong, Australia (2000).

คณะกรรมการด้านกีฬาระดับชาติ

 

 

 

  • Sports Science Sub–Committee in Technical Committee of Sports Authority of Thailand (2003).
  • Medical Control Sub–committee in Medical and Health Committee in 13th Asian Games, Bangkok, Thailand (1998).
  • Medical Committee (Doping Control) in 18th Sea – Games, Chiangmai, Thailand (1995).
  • Sports Physiology and Biomechanics Sub–Committee in Thai Athlete Preparation Organizing Committee: TAPO (1994).

ประสบการณ์และความเชี่ยวชาญด้านวิชาการ

 

 

 

  • คณะกรรมการยกร่างหลักสูตรวิทยาศาสตร์การกีฬา หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2556

(กรรมการและเลขานุการ) คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

  • ความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการกีฬา สาขาสรีรวิทยาการกีฬา และสาขาเทคโนโลยีการกีฬาในชนิดกีฬาต่างๆ อาทิเช่น เซปักตะกร้อ ฟุตบอล และเทนนิส

 

ผลงานสิ่งประดิษฐ์นวัตกรรมด้านกีฬา

 

 

  • ผลงานการวิเคราะห์หาความพึงพอใจ และทดสอบความถูกต้อง แม่นยำ และการใช้งานได้ (Validity) ของเครื่องมือและโปรแกรมวิเคราะห์ผลความสมบูรณ์แข็งแรงและความสามารถพิเศษเชิงกีฬาที่เหมาะสมของเด็กและเยาวชนไทย (2553)
  • การจัดทำระบบมาตรฐาน ISO 17025: ห้องปฏิบัติการทดสอบลูกตะกร้อ ศูนย์ทดสอบ วิจัย วัสดุและอุปกรณ์การกีฬา คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2552)
  • นวัตกรรมต้นแบบอุปกรณ์ทดสอบปฏิกิริยาตอบสนองความสัมพันธ์ระหว่างตาและมือ ซึ่งปัจจุบัน ฝ่ายวิทยาศาสตร์การกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทย และสถาบันการพลศึกษา จำนวน 16 สถาบัน กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา นำผลงานดังกล่าวไปใช้ในการทดสอบในทักษะที่เกี่ยวข้องหลายชนิดกีฬา อาทิเช่น กีฬาเทนนิส, เทเบิลเทนนิส และแบดมินตัน เป็นต้น (2541)
  • ผลงานชุดเครื่องมืออุปกรณ์ทดสอบและโปรแกรมวิเคราะห์ประมวลผลในการออกตัวของนักกีฬากรีฑาประเภทวิ่งระยะสั้น 100 เมตร (2535)

ผลงานวิจัยและบทความวิชาการ (หัวหน้าโครงการวิจัย) ปี 2545-2562

 

 

 

  • ในระดับนานาชาติ 5 เรื่อง
    1. Pavilas C, Suwanthada S and Chaiwatcharaporn C. (2015). The Tennis Strike Simulation Machine Identified and Confirmed Power Spot Location on Tennis Racket during Flat First Serve. Journal of Exercise Physiology online. 18(3): 14-26
    2. Pavilas C, Kanungsukkasem V, Lawsirirat C and Lorpipatana B. (2011). The first world accreditation testing laboratory for Sepaktakraw ball. Testing Research Center for Sports Material and Equipment (TRECS), Faculty of Sports Science, Chulalongkorn University.
    3. Pavilas C. Sports Science in Sepak-Takraw: How to apply sports science in elite Sepaktakraw. (2010). International Conference on Sports and Exercise Science (ICSES), symposium: Pre-ASEAN University Games Conference 2010, Chiangmai, Thailand. Dec.13, 2010.
    4. Pavilas C, Avirutdhakarn P, Teerajareonpunya N, Phantumabumrung P and Pitakcharoen S. (2002). Effect of altitude training at Doi-Inthanon on physical fitness in Thai national long distance runner. The 10th international conference on environmental ergonomics, Fukuoka, Japan. Sep. 23-27: p.153-156,
    5. Pavilas C,  Glinsukon T, Chamonchant D, Sintunava R, Saengunyuan N and Avirutdhakarn P. (1994). Study on the Astrand and Rhyming nomogram of maximum oxygen consumption in Thai athletes. Poster presentation in Sports Science conference during the12thAsian Games, Hiroshima, Japan, 1994 [Copyright 1990: J. Sport Med. Ass. Thailand. 3(1): 53-57]

 

  • ในระดับประเทศ 8 เรื่อง
    1. ชัยสิทธิ์ ภาวิลาส, เฉลิม ชัยวัชราภรณ์, โดม ภูมิดิษฐ, ณัฐฐาพร อะวิลัย และบุญศักดิ์  หล่อพิพัฒน์  (2564). โครงการสลากส่งเสริมคนรักกีฬาต้นแบบ: กรณีศึกษาตะกร้อดิจิทัลแอปพลิเคชัน (TakrawDigital application in  sports promotion lotto model of Thailand project: Preliminary study) รายงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
    2. ชัยสิทธิ์ ภาวิลาส, เฉลิม ชัยวัชราภรณ์, ณัฐฐาพร อะวิลัย และแสนพล อู่วิเชียร (2562). การศึกษาผลกระทบการออกสลากส่งเสริมการกีฬาต่อการพัฒนากีฬาและด้านที่เกี่ยวข้องการพนันในประเทศไทย (A study of sports promotion lotto impact on games betting related and sports development in Thailand) คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
    3. ชัยสิทธิ์ ภาวิลาส, เฉลิม ชัยวัชราภรณ์, บุญศักดิ์  หล่อพิพัฒน์  และวรรธนะ  ทรัพย์ประเสริฐ (2560). การศึกษาพัฒนาชุดอุปกรณ์ติดตามสมรรถนะหัวใจและการเคลื่อนไหวแบบไร้สายพร้อมกันเป็นกลุ่มในกีฬาฟุตซอล (A development of wireless simultaneous heart rate and movement performance group monitoring equipment in Futsal) รายงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
    4. ชัยสิทธิ์ ภาวิลาส, ศิลปชัย สุวรรณธาดา และเฉลิม ชัยวัชราภรณ์. (2559). การศึกษาโมเดลทำนายความเร็วสูงสุดในแต่ละจุดกระทบบนเอ็นหน้าไม้เทนนิสขณะเสิร์ฟลูกแฟล็ทของนักกีฬาเยาวชนชายทีมชาติ (A study on predictive impact model of tennis flat serve at racket’s maximum ball speed spot in national youth male players.) Journal of Sports Science and Health. 17(3): 36-50.
    5. ชัยสิทธิ์ ภาวิลาส และเฉลิม ชัยวัชราภรณ์. (2557). การเปรียบเทียบความเร็วสูงสุดของลูกเทนนิสในการเสิร์ฟลูกแฟล็ทจากหน้าไม้แร็กเกต (Comparison in maximum ball velocity of 3-structural characteristic rackets using simulated tennis flat serve). J. Sports Sci. Tech. 14(2): 1-16.
    6. ชัยสิทธิ์ ภาวิลาส, เฉลิม ชัยวัชราภรณ์ และอี๊ด ลอประยูร. (2552). การศึกษาปัจจัยความสำเร็จของกีฬายกน้ำหนักที่เป็นความหวังของประเทศไทย (A Study of Key Success Factors of the Top Success Potential in Weight Lifting of Thailand) สำนักวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    7. ชัยสิทธิ์ ภาวิลาส,  Peter Withe, บุญศักดิ์ หล่อพิพัฒน์, ทินกร  แพทย์เจริญ, พงศธร  เพิ่มพานิช, อาจหาญ  ทรงงามทรัพย์  และพงษ์เอก  สุกใส. (2548). การศึกษาและประยุกต์วิทยาศาสตร์เพื่อเตรียมทีมฟุตบอลชาติไทยในเอเชี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 14 (Study in Scientific Approach to Thai national football team in the14th Asian Games): abstract, The 33th University Games Seminar, Sports Medicine Association of Thailand, Bangkok, 2005.): การประชุมวิชาการกีฬามหาวิทยาลัยครั้งที่ 33, สมาคมกีฬาเวชศาสตร์แห่งประเทศไทย.
    8. ชัยสิทธิ์ ภาวิลาส, เฉลิม ชัยวัชราภรณ์, ปนิก อวิรุทธการ, สุกิจ  พิทักษ์เจริญ, สุวัตร  หลวงตระกูล และคณะ.(2544). สมรรถภาพการใช้พลังงานแบบไม่ใช้ออกซิเจนในนักกีฬาเซปักตะกร้อหญิงเฉพาะตำแหน่ง  (Specific anaerobic fitness of female SepakTakraw player in various positions.) Sports Science Centre, Sports Authority of Thailand, 2002. การกีฬาแห่งประเทศไทย

Dome PHUMIDIT

Sports Business Department, Sports Authority of Thailand
286 Ramkhamheang Rd., Huamark, Bangkapi, Bangkok 10240

References

เอกสารอ้างอิง
1. การกีฬาแห่งประเทศไทย. 2558. ราชกิจจานุเบกษา. พระราชบัญญัติ การกีฬาแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ
2. การกีฬาแห่งประเทศไทย. 2562. รายงานโครงการฉบับสมบูรณ์โครงการสลากกีฬา (Final Report) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562. กรุงเทพฯ
3. การกีฬาแห่งประเทศไทย. 2563. รายงานโครงการฉบับกลาง 1 (Interim Report-1) และรายงานฉบับกลาง 2 (Interim report-2) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. กรุงเทพฯ
4. กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. 2562. ราชกิจจานุเบกษา. พระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 19) พ.ศ. 2562 กรุงเทพฯ
5. กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. 2559. ราชกิจจานุเบกษา. พระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ 17) พ.ศ. 2559 – กรุงเทพฯ
6. กระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง. 2563. แผนปฏิบัติราชการกรมการปกครอง. สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเป็นเสนาบดี รับผิดชอบงานมหาดไทย หรืองานการปกครองประเทศ. แหล่งข้อมูล https://www.dopa.go.th/main/web_index
7. สมาคมกีฬาตะกร้อแห่งประเทศไทย. 2564. ปฏิทินการจัดการแข่งขันตะกร้ออาชีพในประเทศ “รายการตะกร้อไทยแลนด์ลีก 2564” โดยความร่วมมือกับบริษัทสปอร์ตเซท จำกัด. แหล่งข้อมูลhttps://thaitakrawassociation.org/
8. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. 2560. ระเบียบสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล ว่าด้วยการกำหนดขั้นตอนการจ่ายรางวัลสลากกินแบ่งรัฐบาล และหรือสลากอื่น ที่สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล จัดทำขึ้นเพื่อจำหน่าย พ.ศ. 2560. กรุงเทพฯ
9. สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล. 2561. รายงานประจำปี 2560 สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล. กรุงเทพฯ: สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล. กรุงเทพฯ
10. Hutchinson, M., Berg, B. K., & Kellison, TB. Political activity in escalation of commitment: Sport facility funding and government decision making in the United States. Sport Management Review. 2018; 21(3), 263–278.
11. Japan Sport Council, Sports Promotion Fund ... The Sports Promotion Lottery (toto/BIG) was introduced in 2001. 2016. (FY2016 indicates the amount allocated) Available form https://www.jpnsport.go.jp/corp/english/activities/tabid/394/Default.aspx.
12. Pavlik, M. & Hruza, F. Alternative lottery systems in Europe and key variables for using lottery as a financial resource for sport. Studia Sportiva. 2015; 1, 216–224.

Downloads

Published

2021-12-25

Issue

Section

Articles