Stress Management by Buddhist Activities for BanPong People
Main Article Content
Abstract
Abstract
Objective : To study the stress level of lay people before and after Buddhist
activities.
Materials and Methods : This was a documentary and quasi experimental
Research. Data were collected in 2 methods:part 1, from secondary data based on
the study of the 3 unwholesome roots and the 3 meritorious actions in the
Theravada Buddhist Scriptures: part 2, from primary data which consisted of 100
samples from people of BanPong area. Purposive sampling was used to divide the
participants into 2 groups: 50 for the experimental group and 50 for the control
group through the Buddhist activities during August to October 2016. The stress
level was assessed by using Suanprung Stress Test-20 and the results were
presented by Mean and Percentage.
Results : The results revealed that according to Buddhism, stress was
caused by the 3 unwholesome roots: greed, hatred and delusion. Stress can be
managed by following the 3 meritorious actions which are giving, observing the
precepts and mental development. The results revealed high stress levels before
the Buddhist activities, while after the Buddhist activities stress lowered to a
moderate level.
Summary : The Buddhist activities which are under the 3 meritorious
actions may reduce stress.
Keywords: Buddhist activities, The meritorious action, Stress management,
Buddhism
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความเครียดของศาสนิกชนก่อนและหลังเข้าร่วม
กิจกรรมเชิงพุทธ
วัสดุและวิธีการ เป็นการวิจัยเชิงเอกสารและกึ่งทดลอง โดยผู้วิจัยท าการ
เก็บข้อมูล 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 จากข้อมูลทุติยภูมิคือ การศึกษาอกุศลมูลและบุญกิริยาวัตถุ
ในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท และส่วนที่ 2 จากข้อมูลปฐมภูมิคือ ท าการเก็บข้อมูลจาก
กลุ่มตัวอย่างศาสนิกชนต าบลบ้านปงจ านวน 100 คน จากการเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง
แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 50 คนและกลุ่มควบคุม 50 คน โดยวิธีการสุ่ม ผ่านกิจกรรมเชิงพุทธ
ในช่วงสิงหาคม - ตุลาคม 2559 ใช้แบบประเมินความเครียดคือ แบบวัดความเครียด
สวนปรุง (Suanprung Stress Test-20) น าเสนอโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ
ผลการศึกษา ความเครียดทางพระพุทธศาสนา สาเหตุเกิดจาก อกุศลมูล 3 คือ
โลภะ โทสะ โมหะ ส่วนการจัดการความเครียดท าโดยการประพฤติปฏิบัติตามหลักบุญกิริยา
วัตถุ 3 คือ ทาน ศีล ภาวนา ซึ่งผลระดับความเครียดของกลุ่มทดลองก่อนได้เข้าร่วม
กิจกรรมอยู่ในระดับสูง และหลังจากได้ร่วมกิจกรรมแล้วผลความเครียดอยู่ในระดับ
ปานกลาง ขณะที่กลุ่มควบคุมความเครียดอยู่ในระดับเดิม
สรุป กิจกรรมเชิงพุทธภายใต้กรอบแนวคิดบุญกิริยาวัตถุอาจลดความเครียดได้
คำสำคัญ กิจกรรมเชิงพุทธ, บุญกิริยาวัตถุ, การจัดการความเครียด,
พระพุทธศาสนา
Article Details
บทความหลังผ่านการปรับแก้จากกองบรรณาธิการแล้ว เป็นลิขสิทธ์ของวารสารจิตเวชวิทยาสาร โรงพยาบาลสวนปรุง กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ห้ามเผยแพร่เพื่อประโยชน์ทางการค้าโดยไม่ได้รับอนุญาต แต่อนุญาตให้เผยแพร่บทความดังกล่าวเพื่อประโยชน์ทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไป ทั้งนี้กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับบทความหรือข้อคิดเห็นใดๆ ที่ปรากฏในวารสารสวนปรุง