ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดนครพนม
คำสำคัญ:
ความรอบรู้ทางด้านสุขภาพ, การส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ, โรคเบาหวานชนิดที่ 2บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาประสิทธิผลของประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ 3อ. 2ส. ของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จังหวัดนครพนม
วิธีการศึกษา : เป็นการศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบกึ่งทดลอง (Quasi experimental research) โดยกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 60 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์คัดเข้าและเกณฑ์คัดออกที่กำหนด เครื่องมือที่ใช้ เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานใช้ Paired Sample t-test
ผลการศึกษา : พบว่า หลังให้โปรแกรมสุขศึกษา ผู้ป่วยโรคเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ทัศนคติ เกี่ยวกับโรคเบาหวาน ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพ 3อ. 2ส. มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าก่อนให้
โปรแกรมสุขศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
สรุป : ผลการศึกษาสามารถใช้เป็นแนวทางในส่งเสริมสุขภาพ เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานได้ต่อไป
References
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มืออาสาสมัครประจำครอบครัว (อสค.) กลุ่มดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจำกัด ;2560.
กองโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. ตัวชี้วัดเพื่อกำกับติดตามคุณภาพบริการการดำเนินงานด้านโรคไม่ติดต่อ (โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง) [เว็บไซต์];2565. [เข้าถึงเมื่อ 1 ก.พ. 2566]. เข้าถึงได้จาก http://www.thaincd.com
ขวัญเมือง แก้วดำเกิง. ความรอบรู้ด้านสุขภาพ: เข้าถึง เข้าใจ และการนำไปใช้ กรุงเทพฯ: อมรินทร์;2561.
จิริสุดา ธานีรัตน์.ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ 2 ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานของบุคลากรโรงพยาบาลปทุมธานี. วารสารโรงพยาบาลกลนคร 2565; 25:1.
มนรดา แข็งแรง และคณะ. ความรู้ทัศนคติและพฤติกรรมการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่มารับบริการในโรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดอุบลราชธานี. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 2 เข้าถึงได้ จาก http://jes.rtu.ac.th/ rtunc2017/pdf/Poster%20Presentation [เว็บไซต์];2560.
สายฝน สารินทร์และคณะ.ประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เสี่ยงต่อโรคไตเรื้อรัง.วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข 2562;29:2:64-73.
สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครพนม. ข้อมูลระดับจังหวัดตัวชี้วัดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังกลุ่มรายงานมาตรฐาน Service plan สาขาโรคไม่ติดต่อ;2566.
สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย สมาคมต่อมไร้ท่อแห่งประเทศไทย. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับการดูแลโรคเบาหวาน พ.ศ.2566. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศรีเมืองการพิมพ์ จำกัด;2566.
ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบริราชกุมารี, สมาคมต่อมไร่ท่อแห่งประเทศ
ไทย, กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. แนวทางเวชปฏิบัติ
สำหรับโรคเบาหวาน 2566. กรุงเทพฯ: ศรีเมืองการพิมพ์จำกัด; 2566.
American Diabetes Association. Standards of medical care in diabetes 2007. Diabetes Care 2007;36:11-66.
Bloom, B.S. Handbook on formative and summative evaluation of student learning. New
York : McGraw–Hill. 1971.
Freedman D Bess, K.D. Tucker, H.A. Boyd, D.L.Tuchman A.M., Wallston K. Public health
literacy defined. American Journal of Preventive Medicine 2009;36(5):446-451.
Krejcie R.V., Morgan D.W. Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement 1970;30(3):607-610.
Mc Cormack, L. Bann, C. Squiers, L. Berkman, CS Schillinger, et al. (2010). Measuring health literacy: a pilot study of a new the skills-based instrument. The Journal of Health
Communication 2010;15(2):51-71.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 โรงพยาบาลนครพนม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ โรงพยาบาลนครพนม
- ข้อความหรือข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความนั้นๆ ไม่ใช่ความเห็นของกองบรรณาธิการ