กรณีศึกษา: การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลาง โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลาง โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
คำสำคัญ:
โรคหลอดเลือดสมอง, การดูแลผู้ป่วยระยะกลาง, การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนบทคัดย่อ
โรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคระบบทางประสาทที่พบได้บ่อย สาเหตุอาจเกิดจากหลอดเลือดสมองแตกหรืออุดตัน ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการเสียชีวิต หรือความพิการอันส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว โดยพบว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย จึงเน้นการดูแลผู้ป่วยให้มีผลรับการดูแลที่ดีขึ้น ลดภาวะพึ่งพิง ดูแลผู้ป่วยโดยยึดผู้ป่วยเป็นสำคัญ เน้นการทำงานโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน เพื่อให้ผู้ป่วยได้เข้าถึงบริการและได้รับการดูแลต่อเนื่อง
References
กรมอนามัย. แบบประเมินคัดกรอง ADL [อินเตอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 13 พ.ค. 2567]. เข้าถึงได้จาก:
http://203.157.185.18/download/hosxp/HOSxP&HOSxP_PCU/เอกสารประกอบ/แบบฟอร์ม
ADL/แบบประเมินคัดกรองBathel ADL.pdf
จันทร์จิรา สีสว่าง, ปุลวิชช์ ทองแตง. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรค
ความดันโลหิตสูงในเอเชีย: การทบทวนวิจัยเชิงคุณภาพอย่างเป็นระบบ. Nursing Science Journal of Thailand 2562;37(1):86-107.
วิจิตรา กุสุมภ และอรุณี เฮงยศมาก. (2551). ภาวะวิกฤตเกี่ยวกับระบบประสาท. ในวิจิตรา กุสุมภ
(บรรณาธิการ), การพยาบาลผูปวยภาวะวิกฤต: แบบองครวม. พิมพครั้งที่ 3 หนา 283 -300.กรุงเทพมหานคร : สหประชาพาณิชย์.
สถาบันเวชศาสตร์สมเด็จพระสังฆราชญาณสังวรเพื่อผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. (2563).
คู่มือแนวทางปฏิบัติการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยสูงอายุระยะกลาง (Guideline for Intermediate
Care in the elderly). บียอนด์พับลิสชิ่ง จำกัด
AHA. (2005). AHA Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency
Cardiovascular Care Part 9: Adult Stroke, Circulation 112 (Suppl): 220
AHA. (2008).High Blood Pressure Increases Your Risk for Stroke.
http://www.americaneart.org/presenter.jhtml?identifier=2153 (Accessed 13/5/2567)
Feigin VL, Brainin M, Norrving B, Martins S, Sacco RL, Hacke W, et al. World Stroke
Organization (WSO): global stroke fact sheet 2022. International Journal of Stroke
; 17(1):18-29.
Jazieh AR, Volker S, Taher S. Involving the family in patient care: a culturally tailored
communication model. Global Journal on Quality and Safety in Healthcare. 2018;1(2):
-7. doi:10.4103/JQSH.JQSH_3_18.
Lee SY, Kim DY, Sohn MK, Lee J, Lee S-G, Shin Y-I, et al.Determining the cut-off score for the
Modified Barthel Index and the Modified Rankin Scale for assessment of functional
independence and residual disability after stroke. Plus One. 2020; 15(1): e0226324-e.
National Institute of Neurological Disorder and Stroke. (2008). Stroke : Hope to Research.
http://www.ninds.nih.gov/disorders/stroke/detail_stroke.htm (Accessed 13/5/2567)
Tseng MC, Chang KC. Stroke severity and early recovery after first-ever ischemic stroke:
results of a hospital-based study in Taiwan. Health Policy (Amsterdam, Netherlands). 2006 Nov;79(1):73-78. DOI: 10.1016/j.healthpol.2005. 12.003. PMID: 16406133.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 โรงพยาบาลนครพนม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ โรงพยาบาลนครพนม
- ข้อความหรือข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความนั้นๆ ไม่ใช่ความเห็นของกองบรรณาธิการ