ผลของการเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและครอบครัวต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง โรงพยาบาลนครพนม
คำสำคัญ:
การเตรียมความพร้อม, พฤติกรรมการดูแลตนเอง, คุณภาพชีวิต, ผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่องบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทาง ช่องท้องอย่างต่อเนื่องระหว่างก่อนและหลังได้รับการเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและครอบครัว โรงพยาบาลนครพนม
วิธีการศึกษา : การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562 – ตุลาคม 2562 โดยการ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ประกอบด้วยผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง 30 คนและบุคคล ในครอบครัวผู้ป่วยจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการสอน ได้แก่ แผ่นภาพพลิก คู่มือปฏิบัติ ตนสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังและบุคคลในครอบครัว เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยแบบสอบถาม ข้อมูลทั่วไปสำหรับผู้ป่วยและบุคคลในครอบครัว แบบสัมภาษณ์ผู้ป่วยเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเองหาความเชื่อ มั่นโดยวิธีของคูเดอร์ริชาร์ดสัน 20 และแบบสัมภาษณ์คุณภาพชีวิต ทดสอบหาความเชื่อมั่นโดยคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .71 และ .88 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตโดยใช้สถิติ paired t-test
ผลการศึกษา: พบว่า ภายหลังได้รับการเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและครอบครัว ผู้ป่วยที่ได้รับการล้างไตทาง ช่องท้องอย่างต่อเนื่องมีคะแนนพฤติกรรมการดูแลตนเองและคะแนนคุณภาพชีวิตโดยรวมเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .001
ข้อสรุป : การเตรียมความพร้อมของผู้ป่วยและครอบครัว เป็นส่วนสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตที่ดี พยาบาลหน่วยไตเทียมจึงควรเพิ่มมาตรการในการความรู้ทั้งผู้ป่วยและครอบครัว และการเยี่ยม บ้านเพื่อสร้างความมั่นใจให้กับผู้ป่วยให้มีการดูแลตนเองได้ถูกต้องและทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น
References
Sawasdiwom W. Textbook of peritoneal dialysis. Bangkok: Text and Journal Publication .2008.
อรทัย วันทา. พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วย ไตวายเรื้อรังที่รักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องแบบ ถาวร. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขา วิชาการพยาบาลผู้ใหญ่, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ขอนแก่น. 2547.
อุษณา ลุวีระ. การรักษาผู้ป่วยไตงายเรื้อรังระยะ สุดท้ายสำหรับผู้มีรายได้น้อยและผู้ที่สังคมพึง ช่วยเหลือเกื้อกูล. วารสารสมาคมโรคไต แห่งประเทศไทย. 2542; 6(11); 27-30.
สมพร ชินโนรส และชุติมา ดีปัญญา. การศึกษา คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือด. วารสารเกื้อการุณย์ ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2556. 5. Beare PG, Myers JL. Principles and practice of adult health nursing. 2nd ed. St. Louis: Mosby; 1994.
อรรถพงษ์ วงศ์วิวัฒน์. การดูแลโรคไตเรื้อรังในปัจจุบัน. ใน: ทวี ศิริวงศ์, บรรณาธิการ. Update on CKD prevention: Strategies and practical point. พิมพ์ครั้งที่3. ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัย ขอนแก่น; 2550. หน้า 43-56
ณัฐวุฒิ โตวนำชัย, พิสุทธิ์ กตเวที, และ สมชาย เอี่ยมอ่อง. Overview of renal replacement therapy. ใน สมชาย เอี่ยมอ่อง และคณะ (บรรณาธิการ) Textbook of peritoneal dialysis (หน้า 1-18). กรุงเทพ: เท็กซ์ แอน เจอร์นัล พับลิเคชั่น; 2551.
กิติมา เศรษฐ์บุญสร้าง, ประเสริฐ ประสมรักษ์. การพัฒนารูปแบบการดูแลของผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไตต่อพฤติกรรม การดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตผู้ป่วย โรงพยาบาล สมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา จังหวัดยโสธร. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัย ขอนแก่น, 2559; 4(4) : 485-503.
นลิตา เหลาแหลม, พรมมินทร์ ไกรยสินธ์, วัชรียา ปาละกุล, อภิรดา ฉิมพาลี, กัตติกา หาลือ, วีระพล จันทร์ดียิ่ง. ประเมินคุณภาพชีวิตระหว่างผู้ป่วย ฟอกเลือดล้างไตและล้างไตทางช่องท้อง ณ โรงพยาบาลพะเยา. วารสารนเรศวรพะเยา. 2557; 7(2) : 172-177.
Sayin A, Mutluay R, Sindel S. Quality of life in hemodialysis, peritonealdialysis, and transplantation patients. Transplantation proceedings 2007; 39: 3047-53
Orem, Dorothea E.Nursing Concepts of Practice. 6th. Mosby, 2001.
Artiwitchayanon A, Keeratiyutawong P, Duang paeng S, Predictors of self-management in patients with chronic kidney disease undergoing continuous ambulatory peritoneal dialysis. Chonburi: Faculty of Nursing, Burapha University; 2015.
สุรีย์ จันทร์โมลีและคณะ, 2528. เปรียบเทียบการ ให้สุขศึกษาแบบการจัดโปรแกรมสุขศึกษาและการ ให้สุขศึกษาตามปกติแก่ผู้ป่วยโรคเบาหวานในตึก ผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลราชวิถี. วารสารสุขศึกษา 8 (กรกฎาคม – กันยายน, 2528) 42-51
หน่วยไตเทียม โรงพยาบาลนครพนม. รายงานผล การดำเนินงาน ประจำปี 2560.
หน่วยไตเทียม โรงพยาบาลนครพนม. รายงานผล การดำเนินงาน ประจำปี 2561. 16. กรมสุขภาพจิต. เครื่องชี้วัดคุณภาพชีวิตขององค์การ อนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL – BREF – THAI): https://www.dmh.go.th/test/download/view.asp?id=17
Orem DE. Nursing : concepts of practice. 5th ed. Philadelphia: Mosby-Year Book; 1995.
เอมิกา กลยนี, เพ็ญนภา แดงด้อมยุทธ์, และอารีย์วรรณ อ่อมตานี. (2558). ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์ กับคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทที่ให้การดูแล ผู้ป่วยที่บ้าน. วารสารพยาบาลตำรวจ, 7(1). 128-140.
สกุณา บุศนรากร. (2551). การส่งเสริมสุขภาพแบบ องค์รวมทุกช่วงวัย (pp. 205-246). สงขลา: เทมการพิมพ์.
นิภา อัยยสานนท์. การเปรียบเทียบคุณภาพชีวิต ของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต โดยการฟอกเลือดและการล้างไตทางช่องท้อง อย่างถาวร (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). 2560 นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร. สืบค้นจาก http://www.thapra.lib.su.ac.th/theses/showtheses_th.asp?id=0000003590.
คัทลียา อุคติ, และณัฐนิช จันทจิรโกวิท. (2550). ความสามารถในการดูแลตนเองและคุณภาพชีวิต ของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้ายที่รักษาด้วยวิธี ขจัดของเสียทางเยื่อบุช่องท้องต่อเนื่อง. สงขลานครินทร์เวชสาร, 25(3), 171-177.
นัยนา พิพัฒน์วณิชชา. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัย ส่วนบุคคล ความสามารถในการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่รับการรักษา โดยการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม [วิทยานิพนธ์ ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การพยาบาลอายุรศาตร์และศัลยศาสตร์]. เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2535.
Russo, G. E., et al. (2010). Quality of life assessment in patients on hemodialysis and peritoneal dialysis. Giornale Italiano Di Nefrologia, 27(3), 290-295.
กิติมา เศรษฐ์บุญสร้าง, และประเสริฐ ประสมรักษ์. (2559). การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง ระยะสุดท้ายที่ได้รับการบำบัดทดแทนไตต่อพฤติกรรม การดูแลตนเองและคุณภาพชีวิตผู้ป่วย โรงพยาบาล สมเด็จพระยุพราชเลิงนกทา จังหวัดยโสธร. วารสาร การพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4(4), 485-503.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
- บทความที่ได้รับการตีพิมพ์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของ โรงพยาบาลนครพนม
- ข้อความหรือข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความนั้นๆ ไม่ใช่ความเห็นของกองบรรณาธิการ