ผลของการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง ระดับน้าตาลในเลือด และระดับความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตา ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2

Main Article Content

กฤษณา ดวงแก้ว
จริยาวัตร คมพยัคฆ์
นภาพร แก้วนิมิตชัย

Abstract

บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง ระดับ
น้าตาลในเลือด และระดับความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตาของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
รูปแบบการศึกษา: Quasi experimental research, One-group pre-posttest design
วิธีการศึกษา: ศึกษาในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 เพศชายและเพศหญิงที่มีภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตา
ระดับปานกลางอายุ 20 ปี ขึ นไป จ้านวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย กิจกรรมการพยาบาล
ระบบสนับสนุนและให้ความรู้ตามกรอบแนวคิดของโอเร็ม แบบสอบถามพฤติกรรมการดูแลตนเอง แบบบันทึก
การเจ็บป่วยเกี่ยวกับโรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตา ที่ได้รับการตรวจสอบคุณภาพโดย
ผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน มีค่าความสอดคล้องของข้อค้าถามกับค้านิยามของพฤติกรรมการดูแลตนเองเท่ากับ 0.92
และเมื่อน้าไปทดลองใช้ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.74 ด้าเนินการทดลองและเก็บข้อมูลในระยะเวลา 12
สัปดาห์ โดยพบกลุ่มตัวอย่าง 4 ครั ง ใช้เวลาประมาณ 45-60 นาที แต่ละครั งห่างกัน 4 สัปดาห์ เปรียบเทียบ
ความแตกต่างของระดับความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตาด้วยค่าร้อยละ เปรียบเทียบความ
แตกต่างของคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลตนเอง ระดับน้าตาลในเลือด ด้วยสถิติ Pair t-test ที่ระดับ
นัยส้าคัญที่ 0.05
ผลการศึกษา: (1) ภายหลังได้รับการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ย
พฤติกรรมการดูแลตนเองโดยรวมและรายด้านทั ง 5 ด้านดีขึ นกว่าก่อนได้รับการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้
ความรู้อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ p<0.001 (2) ระดับน้าตาลในเลือดดีขึ นอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ p<0.001
และ (3) ระดับความรุนแรงของภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตาเท่าเดิมร้อยละ 86.68 ลดลงร้อยละ 11.11

สรุป: ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตาหลังได้รับการพยาบาลระบบสนับสนุน
และให้ความรู้ มีพฤติกรรมการดูแลตนเอง ระดับน้าตาลในเลือดดีขึ น และไม่เพิ่มระดับความรุนแรงของ
ภาวะแทรกซ้อนทางจอประสาทตา

Article Details

Section
Original Study

References

เอกสารอ้างอิง

World Health Organization. World Health Statistics 2015. (cite 2016 May 1)Available from: http://www.who.int/gho/publications/world_health_statistics/2015/en/.

สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. จำนวนและอัตราผู้ป่วยใน 6 โรค (เบาหวาน E10-E14 / ความดันโลหิต I10-I50 / หัวใจขาดเลือด I20-I25/ หลอดเลือด สมอง I60-I69 /หลอดลมอักเสบ J40-J45 / โรคหืด J45-J46) ต่อประชากรแสนคน จำแนกเป็นรายเขตสุขภาพ กทม. และภาพรวมของประเทศ พ.ศ.2550-2557.

แหล่งที่มา : http://thaincd.com/information-statistic/non-communicable-disease-data.php สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2559

อภิชาต สังคาลวณิช. สายตาผิดปกติจากโรคเบาหวานและการป้องกัน. (2553) แหล่งที่มา : http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=441

สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา.รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาประจําสัปดาห์: 2556;44(10):145-152.

นุชรี อาบสุวรรณ ,นิตยา พันธุเวทย์. ประเด็นสารรณรงค์วันเบาหวานโลกปี ๒๕๕๗. แหล่งที่มา : www.thaincd.com/document/hot%20news/ประเด็นเบาหวาน58.doc สืบค้นวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2557

คณะทำงานจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน. แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557. กรุงเทพมหานคร : หจก. อรุณการพิมพ์ ; 2557.

Orem,.D.E. Nursing: Concepts of Practice (6th ed). St. Louis : Mosby; 2001.

ช่อผกา จิระกาล. ผลของการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและพฤติกรรมการดูแลบุคคลที่พึ่งพาในผู้ป่วยเบาหวานและครอบครัว : การศึกษานำร่อง. (วิทยานิพนธ์). ขอนแก่น : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ; 2550.

ปิยมาลย์ อาชาสันติสุข. ผลของการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง และฮีโมโกลบินเอวันซีในผู้ป่วยเบาหวาน. (วิทยานิพนธ์). พิษณุโลก : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2550.

มณกร ศรีแป๊ะบัว.ผลของโปรแกรมการพยาบาลระบบสนับสนุนและให้ความรู้ต่อการรับรู้ความสามารถในการดูแลเท้าและพฤติกรรมการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดแผลที่เท้า. (วิทยานิพนธ์). ชลบุรี : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา ; 2557.

American Diabetes association. Standards of Medical Care in Diabetes-2010. Diabetes Care 2010. 2010; 33(suppl.1) : S11-S61.

นงลักษณ์ วิรัชชัย.การกำหนดขนาดตัวอย่างในการทดสอบสมมุติฐานวิจัย.(2555) แหล่งที่มา : http://lllskill.com/web/files/GPower.pdf สืบค้นวันที่ 13 มกราคม 2559

พัชราภัณฑ์ ไชยสังข์,ปัญจภรณ์ ยะเกษม,นรากูล พัดทอง. ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเอง ต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ที่มีระดับน้ำตาลในเลือดเกินระดับปกติในชุมชน.วารสาร มฉก. วิชาการ. 2557;18(35):1-12.

ยุคลธร เธียรวรรณ, มยุรี นิรัตธราดร, ชดช้อย วัฒนะ.ผลของโปรแกรมส่งเสริมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองและระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน.พยาบาลสาร. 2555;39(2):132-143.

จิรวรรณ แสงรัศมี. ปัจจัยทำนายภาวะเบาหวานเข้าจอประสาทตาใน จังหวัดอุตรดิตถ์. [วิทยานิพนธ์เภสัชศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการเภสัชกรรม)] เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ; 2554

โยธิน จินดาหลวง.ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ในผู้ป่วยเบาหวานเขตเทศบาลเมืองตาก.พุทธชินราชเวชสาร. 2552;26 (1):53-61.

วลัยพร ยติพูลสุข.ความชุกและปัจจัยเสี่ยงในการเกิดเบาหวานขึ้นจอประสาทตา ในจังหวัดแพร่.วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2551;17 (ฉบับเพิ่มเติม 2): 464-70.

อภิชาต สังคาลวณิช.โรคของจอตาและวุ้นตา.ตำราจักษุวิทยา. กรุงเทพมหานคร : ราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย. 2555;258-283.