ปัจจัยทำนำยพฤติกรรมควำมร่วมมือในกำรรักษำของผู้ป่วยต้อหิน

Main Article Content

วิภาวี เหล่าเทิดพงษ์
ศิริลักษ์ กิจศรีไพศาล
มัญชิมา มะกรวัฒนะ

Abstract

บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาปัจจัยทานายพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาของผู้ป่วยต้อหิน โดยได้ประยุกต์ใช้
ทฤษฎีการกระทาด้วยเหตุผลของไอเซนและฟิชบายน์มาใช้เป็นแนวทางในการศึกษา
รูปแบบกำรศึกษำ: การวิจัยเชิงบรรยายแบบศึกษาอานาจการทานาย
วิธีกำรศึกษำ: เก็บข้อมูลในผู้ป่วยต้อหิน โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดปทุมธานี ระหว่าง
เดือนกรกฎาคมถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2558 จานวน 126 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย
1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามทัศนคติต่อพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาของผู้ป่วยต้อ
หิน 3) แบบสอบถามเกี่ยวกับการคล้อยตามความคาดหวังของบุคคลที่มีความสาคัญ และ 4) แบบสอบถาม
พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาของผู้ป่วยต้อหิน แบบสอบถามทั้งหมดมีค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหาและ
ค่าความเที่ยงของเครื่องมืออยู่ในเกณฑ์ดี การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์พอยท์ไบ
ซีเรียล สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณอย่างง่าย
ผลกำรศึกษำ: ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีคะแนนพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาอยู่ใน
ระดับสูง(X=73.3, SD=3.8) การคล้อยตามความคาดหวังของบุคคลที่มีความสาคัญมีความสัมพันธ์กับ
พฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาของผู้ป่วยต้อหินอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (r=0.199, p<0.05) โดยตัวแปร
การคล้อยตามความคาดหวังของบุคคลที่มีความสาคัญสามารถร่วมทานายพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษา
ของผู้ป่วยต้อหินได้ร้อยละ 4 (R2 = 0.039, p<0.05)
บทสรุป: กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดมีคะแนนพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษาอยู่ในระดับสูง และมีเพียงตัวแปร
การคล้อยตามความคาดหวังของบุคคลที่มีความสาคัญสามารถร่วมทานายพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษา
ของผู้ป่วยต้อหินได้ร้อยละ 4 (R2 = 0.039, p<0.05) ผลการศึกษาครั้งนี้ สามารถนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการวาง
แผนการพยาบาลหรือพัฒนาส่งเสริมพฤติกรรมความร่วมมือในการรักษา โดยการส่งเสริมให้เกิดความเชื่อ
เกี่ยวกับความคาดหวังของบุคคลที่มีความสาคัญและมีแรงจูงใจที่จะปฏิบัติตามความคาดหวังของบุคคลที่มีความสาคัญซึ่งจะทาให้เกิดการคล้อยตามความคาดหวังของบุคคลที่มีความสาคัญ และสามารถใช้เป็นข้อมูลในการทาวิจัยครั้งต่อไป

Article Details

Section
Original Study

References

เอกสำรอ้ำงอิง

Quigley HA, & Broman AT. The number of people with glaucoma worldwide in 2010 and 2020. J Ophthalmology. 2006;90(0):262–267.

สมพร จันทรา. “ต้อ” ปัญหาตาในผู้สูงอายุ. HealthToday Thailand. 2553;10(110): 88-91.

เกษรา พัฒนพิบูลย์. โรคต้อหิน Glaucoma. ใน: สมสงวน อัษญคุณ, ประภัสสร ผาติกุลศิลา, นภาพร ตนา นุวัฒน์, ดิเรก ผาติกุลศิลา, เกษรา พัฒนพิบูลย์, บรรณาธิการ. โรคตาที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ.(ฉบับ ปรับปรุง). เชียงใหม่: วิทอินดีไซน์; 2556. น. 94-111.

ยุพิน ลีละชัยกุล. การรักษาต้อหินด้วยยา. กรุงเทพฯ: ก่อไผ่การพิมพ์; 2550.

หทัยกาญจน์ เชาวกิจ. ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนจากครอบครัวต่อ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยสูงอายุโรคต้อหิน [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. [กรุงเทพฯ]: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2553.

World Health Organization. Adherence to long-term therapies: Evidence for action. [Internet]. Switzerland: World Health Organization; 2003 [cite 2015 Feb 23]. Available from www.who.int/chp/knowledge/publications/ adherence_introduction.pdf

Cox CL. Adherence, compliance, persistence and concordance in the management of glaucoma Part 2. International Journal of Ophthalmic Practice. 2012;3(1):124-130. 2559) 33

Sleath B, Susan B, Covert D, Stone JL, Skinner AC, Robin A.L. The relationship between glaucoma medication adherence, eye drop technique, and visual field defect severity. Ophthalmology. 2011;118(12):2398-2402.

Denis P. Adverse Effect, Adherence and Cost-Benefits in Glaucoma Treatment. European Ophthalmic Review. 2011;5(2):116-122.

Schwartz GF. Improving Patients’ Adherence to Glaucoma Therapy. Glaucoma Today/ Early Spring. 2011;00(00):53-63.

Stryker JE, Beck AD, Primo SA, Ech KV, Bundy L, Pretorius GC, & Glanz K. An Exploratory Study of Factors Influencing Glaucoma Treatment Adherence. J Glaucoma. 2010;19(1):66–72.

Ajzen I, fishbein M. Understanding Attitiudes and Predicting Social Behavior. Englewood Cliffs: Prentice-Hall; 1980.

Cohen J. A power primer. Psychological Bullentin. 1992;112(1):155-159.

เบญจมาศ รอดแผ้วพาล. ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับความร่วมมือในการรักษาในผู้สูงอายุที่เป็นโรค ต้อหิน [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. [กรุงเทพฯ]: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2552.

Lacey J, Cate H, & Broadway DC. Barriers to adherence with glaucoma medication: a qualitative research study. Eye. 2009;23(00):924–932. 16. Lunnela J, Kaariainen M, & Kynga H. The views of compliant glaucoma patients on counselling and social support. Journal compilation Nordic College of Caring Science. 2010;24(0):490–498.