ประสบการณ์การทาหัตถการโรคทางวุ้นตาและจอตาของแพทย์ประจาบ้านสาขาจักษุวิทยา ในประเทศไทย

Main Article Content

Navapol Kanchanaranya
Nawachon Sirikarnjanapol

Abstract

วัตถุประสงค์: เพื่อทราบถึงประสบการณ์การผ่าตัดวุ้นตาและจอตา ทั้งในด้านการผ่าตัด การเป็นผู้ช่วยผ่าตัด
และการทาหัตถการที่เกี่ยวข้องกับโรคดังกล่าวของแพทย์ประจาบ้านสาขาจักษุวิทยาในประเทศไทย อีกทั้งยัง
ทราบถึงความมั่นใจและความคาดหวังในการทาหัตถการที่เกี่ยวกับโรควุ้นตาและจอตา และได้ทาการวิเคราะห์
เปรียบเทียบกับเกณฑ์ขั้นต่าที่กาหนดโดยราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย
รูปแบบการศึกษา: การศึกษาวิจัยเชิงพรรณนา
วิธีการศึกษา: ได้ทาการศึกษาโดยอาศัยการตอบแบบสอบถามของแพทย์ประจาบ้านจักษุวิทยาชั้นปีที่ 3 ที่เข้า
รับการอบรมในประเทศไทยทั้งหมด ในช่วงที่มาเข้าประชุมวิชาการทางจักษุวิทยาในเดือนพฤษภาคม 2558 ได้
จานวนแพทย์ประจาบ้านที่เข้าร่วมตอบแบบสอบถามจานวนทั้งหมด 50 คน จากนั้นจึงนาข้อมูลที่ได้มา
วิเคราะห์ว่า แพทย์ประจาบ้านจักษุวิทยาที่กาลังจะจบออกไปปฏิบัติงานจริงนั้น มีประสบการณ์ในการผ่าตัดวุ้น
ตาและจอตาทั้งในการผ่าตัดและช่วยผ่าตัดมากน้อยเพียงใด รวมทั้งความสนใจ ความคาดหวังในการทา
หัตถการดังกล่าว
ผลการศึกษา: ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมด 50 ราย มีประสบการณ์ในการผ่าตัด (primary surgeon) ทา anterior
vitrectomy ร้อยละ 88 และ scleral buckle procedure ร้อยละ 14 ในส่วนหัตถการที่สามารถปฏิบัติที่
ห้องตรวจผู้ป่วยผู้ป่วยนอกพบว่า ผู้ร่วมวิจัยทุกรายมีประสบการณ์ในการยิงเลเซอร์ panretinal
photocoagulation (PRP) และการฉีดยาเข้าวุ้นลูกตา (intravitreal injection) ผู้ร่วมวิจัยร้อยละ 64 มี
ประสบการณ์ในการทา focal laser ในขณะที่ร้อยละ 82 มีประสบการณ์ในการทา laser retinopexy ใน
ส่วนของความมั่นใจและความคาดหวัง ผู้เข้าร่วมวิจัยส่วนใหญ่รู้สึกมีความมั่นใจมากที่สุดและตรงกับความ
คาดหวังในการฉีดยาเข้าวุ้นลูกตา (intravitreal injection) และการยิงเลเซอร์ PRP เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑ์
ขั้นต่าของราชวิทยาลัยพบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยหัตถการที่ปฏิบัติได้น้อยกว่าเกณฑ์ขั้นต่าของราชวิทยาลัย คือ
ประสบการณ์ในช่วยผ่าตัด (assistant surgeon) วุ้นตาและจอตา คิดเป็นร้อยละ 34 การยิงเลเซอร์ Laser  retinopexy คิดเป็นร้อยละ 18 การฉีดยาเข้าวุ้นลูกตา (intravitreal injection) คิดเป็นร้อยละ 6 และการยิงเลเซอร์ PRP คิดเป็นร้อยละ 4

สรุป: การสารวจประสบการณ์การทาผ่าตัดวุ้นตาและจอตาได้ผลที่หลากหลาย แพทย์ประจาบ้านส่วนใหญ่ พอใจและมีประสบการณ์อย่างเพียงพอในหัตถการที่สามารถทาได้ในห้องตรวจผู้ป่วยนอก เช่น การยิงเลเซอร์ และการฉีดยาเข้าวุ้นตา อย่างไรก็ตาม จากการสารวจยังพบว่า ในบางหัตถการ แพทย์ประจาบ้านยังคงมี ประสบการณ์น้อยกว่าเกณฑ์ขั้นต่าที่กาหนดโดยราชวิทยาลัยจักษุแพทย์แห่งประเทศไทย

 

Experience of Residency Training for Vitreoretinal disease in Thailand

Abstract
Objective: To assess resident surgical experience as a primary surgeon or assistant surgeon
and also to assess satisfaction and comfort level for the resident to perform the vitreoretinal
surgery in Thailand. The number of the surgery performed was also analyzed to compare
with the minimum requirements required by the Royal College of Ophthalmologists of
Thailand.
Study design: Descriptive study
Methods: All 3rd-year ophthalmology residents in Thai ophthalmology residency training
programs were invited to complete the questionnaires while attending ophthalmology
meeting conference 4 months before graduation. The survey contained questions about
vitrectomy, intravitreal injections, retinal laser procedures and scleral buckle procedures as
primary surgeon or assistant surgeon. Questions regarding the self-describe comfort level and
expectations level of the resident were also included.
Results: From 50 total participants, approximately 88% had performed anterior vitrectomy
and 14% had performed a scleral buckle as the primary surgeon. In the survey of OPD
procedures, all participants had performed intravitreal injections and laser pan-retinal
photocoagulation, 64% had performed focal macular laser, and 82% had performed laser
retinopexy. In the comfort level and level of expectations section, most participants reported
feeling most comfortable and meet their own expectations with intravitreal injection, panretinal
photocoagulation procedure. When compared with the minimum requirements by
RCOPT, participants performed less than the requirement in assisting pars plana vitrectomy procedure (34%), laser retinopexy (18%), intravitreal injection (6%) and pan-retinalphotocoagulation (4%).

Conclusions: This survey of third-year residents showed variety of experience in vitreoretinal

surgery. Most majorities were satisfied and had adequate experience with intravitreal
injection and pan-retinal photocoagulation which were OPD procedures. There were some
procedures such as assisting vitrectomy which perform less than RCOPT minimum
requirements.

Article Details

Section
Original Study

References

Shah VA, Reddy AK, Bonham AJ, Sabates NR, Lee AG. Resident surgical practice patterns

for vitreoretinal surgery in ophthalmic training programs in the United States. Ophthalmology.2009 Apr;116(4):783-9.

Scott IU, Smalley AD, Kunselman AR. Ophthalmology residency program leadership

expectations of resident competency in retinal procedures and resident experience with retinal procedures. Retina.2009 Feb;29(2):251-6.