การใหแวนเพื่อแกไขสายตาสูงอายุในกลุมประชากรที่มารับบริการ ที่โรงพยาบาลธรรมศาสตรเฉลิมพระเกียรติ

Main Article Content

ณวพล กาญจนารัณย์
นวชน สิริกาญจนพล

Abstract

บทคัดยอ วัตถุประสงค: เพื่อใหทราบถึงกําลังของแวนที่ตองเพิ่มขึ้น เพื่อใชในการแกไขสายตาสูงอายุในกลุมประชากร ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลธรรมศาสตรเฉลิมพระเกียรติ

รูปแบบการศึกษา: การศึกษาเชิงวิเคราะห ณ เวลาจุดเวลาใดเวลาหนึ่ง

วิธีการศึกษา:  ไดทําการศึกษาโดยอาศัยการเก็บขอมูลจากผูที่มารับบริการวัดแวนที่โรงพยาบาลธรรมศาสตร เฉลิมพระเกียรติ ในชวงเดือนมกราคม 2557 – ธันวาคม 2558  ผูเขารวมวิจัยทุกคนไดยินยอมเขารวมงานวิจัย รวมทั้งเก็บขอมูลเรื่องเพศ อายุ ความสามารถในการมองเห็นดีที่สุด (best corrected visual acuity) โรคทาง ตาที่มีผลตอการมองเห็น เชน ตอกระจก ตอหิน รวมไปถึงประวัติผาตัดตามากอน หลังจากนั้นจึงไดทําการ ตรวจประเมินหาคาความสามารถในการเพงโดยการทดสอบใหผูเขารวมวิจัยมองจาก near chart ซึ่งเปนการด ที่ใชวัดสายตาระยะใกล แลวใชเลนสนูนเพิ่มจนผูเขารวมวิจัยสามารถมองเห็นระยะใกลไดระดับ 20/30  ซึ่งเปน ระดับที่สามารถอานหนังสือขนาดมาตรฐานทั่วไป แลวจึงนําขอมูลมาวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางอายุที่ เพิ่มขึ้นและคาของแวนที่ตองเพิ่มขึ้น เพื่อใชในการแกไขสายตาสูงอายุ

ผลการศึกษา: จากผูเขารวมวิจัยทั้งสิ้น 243 คน พบวา ชวงอายุที่เริ่มจําเปนตองใชแวนเพื่อแกไขสายตาสูงอายุ เริ่มตนที่อายุ 38 ป โดยเริ่มกําลังของแวนที่เริ่มตนนั้นเริ่มที่ 0.75 ไดออปเตอร ในแตละชวงอายุที่เพิ่มขึ้นนั้น จําเปนตองเพิ่มกําลังของแวนตามเพื่อใหสามารถมองใกลไดชัดเจน อีกทั้ง ผลการวิจัยพบวา ชวงอายุ 36-40 ป คากําลังของแวนเพื่อแกไขสายตาสูงอายุเปน 0.75 ไดออปเตอร, ชวงอายุ 41-45 ป เปน 1.25 ไดออปเตอร, คา ของกําลังแวนเพิ่มขึ้นตามลําดับจนถึงชวงอายุ 76-80 ป

สรุป: จากการศึกษาพบวาประชากรที่มารับบริการที่ รพ. ธรรมศาสตรเฉลิมพระเกียรติ มีความจําเปนตองใช แวนเพื่อแกไขสายตาสูงอายุ เริ่มตนที่อายุ 38 ป โดยเริ่มกําลังของแวนที่เริ่มตนนั้นเริ่มที่ 0.75 ไดออปเตอรและ คากําลังของแวนเพื่อแกไขสายตาสูงอายุนั้นจะคอยๆ เพิ่มขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น  

 

Spectacle prescription for presbyopic correction among populations  in Thammasat university hospital

Abstract

Objective: To determine the additional power required for presbyopic correction in the population visiting Thammasat university hospital.

Study design: Cross-sectional study

Methods: All patients who had problems with refractive error in Thammasat university hospital during January 2014 to December 2015 were invited in this study. Consent forms were signed by the subjects. Demographic data such as sex, age, best corrected visual acuity, and eye medical history were also collected. Subjective presbyopic correction was performed by adding the plus lens until the subjects can read the short distance Snellen chart to at least 20/30. The correlation between age and adding plus lens was determined.

Results: A total of 243 subjects participated in this study. The age range that patients needed to add the plus to correct presbyopia started from 38 years old. The adding power also started from 0.75 diopters (D). The results showed that the adding of lens increased according to the age of the subjects, such as in the age range 36 – 40 years old, the adding of lens was 0.75 D. During 41 – 45 years old, the adding of lens was 1.5 D. The adding power of lens was increased up to the age range of 76 – 80 years.

Conclusions: Subjects visiting Thammasat university hospital needed to receive presbyopic correction starting from 38 years old. The adding power of lens started from 0.75 D. and increased according to the age of the subjects. 

Article Details

Section
Original Study

References

Petrash JM, Aging and age-related diseases of the ocular lens and vitreous body, Invest Ophthalmol Vis Sci , 2013 Dec 13.13-12940.

Shao Y, Tao A, Jiang H, Mao X, Zhong J, Shen M, Lu F, Xu Z, Karp CL, Wang J, Age-related changes in the anterior segment biometry during accommodation, Invest Ophthalmol Vis Sci. 2015 Jun;56(6):3522-30.

Charman WN, Developments in the correction of presbyopia I: spectacle and contact lenses, OphthalmicPhysiol Opt.2014 Jan;34(1):8-29.

León A, Estrada JM, Rosenfield M , Age and the amplitude of accommodation measured using dynamic retinoscopy , Ophthalmic Physiol Opt. 2016 Jan;36(1):5-12