การเสริมสร้างพลังอำนาจในการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น

ผู้แต่ง

  • ศิริกนก กลั่นขจร
  • อัมราภรณ์ ภู่ระย้า
  • รุ่งทิวา บุญประคม
  • กิตติศักดิ์ คัมภีระ
  • อาชวศรี คำหอม

คำสำคัญ:

หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น, การพยาบาล, การเสริมสร้างพลังอำนาจ

บทคัดย่อ

การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาสำคัญสำคัญของสาธารณสุข เนื่องจากการตั้งครรภ์นี้ส่งผลกระทบทั้งต่อหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น การตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์ รวมถึงครอบครัว และสังคม อีกทั้งการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นมักเป็นการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์หรือการตั้งครรภ์เดี่ยว ซึ่งพยาบาลมีบทบาทสำคัญในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ และทารกในครรภ์ เพื่อลดอันตราย และภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดการเสริมสร้างพลังอำนาจในการสร้างเสริมสุขภาพแก่หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น โดยการให้พลังอำนาจตามกระบวนการด้วยการสนับสนุนให้หญิงตั้งครรภ์ค้นพบสภาพการณ์จริงทั้งด้านอารมณ์ ด้านสติปัญญาการรับรู้ และด้านพฤติกรรม การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ การตัดสินใจเลือกวิธีปฏิบัติที่เหมาะสมกับความต้องการที่ช่วยให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการตัดสินใจในการเลือกวิธีปฏิบัติ และการคงไว้ซึ่งการปฏิบัติด้านสุขภาพที่มีประสิทธิภาพให้หญิงตั้งครรภ์ ทารกในครรภ์ และครอบครัวมีสุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และจิตสังคม เป็นกำลังที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป

References

Gibson C.H. (1991). A concept analysis of empowerment. Journal of Advance Nursing, 16, 354-361.

Gibson C.H. (1995). The process of empowerment in mothers of chronically ill children. Journal of Advanced Nursing, 21, 1201-1210.

Kaewjanta, N. (2012). Depression in Adolescent Pregnant Woman: Factors, Effect, and

Prevention. Journal of Nursing Science and Health, 35(1), 83-90. [In Thai]

Khumtorn, L. (2014). How to Prevent Unwanted Teenage Pregnancy?. Journal of

Boromarajonani College of Nursing, Bangkok, 30(3), 97-105. [In Thai]

Krua-chottikul, S. (2015). Nursing Strategy for Promoting Maternal Tasks Adaptation of

Teenage Pregnancy. Kuakarun Journal of Nursing, 21(1), 7-16. [In Thai]

May, K.A. & Mahlmeister, L.R. (1994). Maternal and Neonatal Nursing: Family-Centred Care.

(3rd edition). Philadelphia: J.B.Lippincott.

Public Health Statistics, Ministry of Public Health, Thailand. (2017). Public Health Statistics

Nonthaburi: Ministry of Public Health, Thailand. [In Thai]

Serisathien, Y. (2000). The Factors Influencing the Adaptation of Maternal Role in Teenage

Pregnancy. Master Thesis (Nursing), Mahidol University, Bangkok. [In Thai]

Techa-in, M. & Sirivatanapa, P. (2012). Adolescent Pregnant. [Pdf, Online].

Available at: http://www.med.cmu.ac.th. [Assessed 10 March 2019]. [In Thai]

UNICEF, Thailand. (2015). Situational Analysis Teenage Pregnancy in Thailand 2015.

Bangkok: UNICEF, Thailand.

World Health Organization (WHO). (2011). WHO guidelines on Preventing early pregnancy

and poor reproductive outcomes among in developing countries. [Pdf, Online]. Available at: http://whqlibdoc.who.int./publications/2011/9789241502214_eng.pdf. [Assessed 10 March 2019].

World Health Organization (WHO). (2014). Fact sheet: Adolescent pregnancy. [Pdf, Online].

Available at: http://apps.who.int. _eng.pdf. [Assessed 10 March 2019].

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-05-12