การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยชุมชนมีส่วนร่วม จังหวัดลำพูน
คำสำคัญ:
การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก, การมีส่วนร่วมของชุมชนบทคัดย่อ
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมนี้ (Participatory Action Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ดำเนินการใน 6 หมู่บ้าน ของตำบลน้ำดิบ อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน โดยใช้กิจกรรมการประเมินปัญหาและความต้องการของชุมชน การวิจัยเชิงปฏิบัติการโดยพัฒนานักกีฏวิทยาชาวบ้าน กิจกรรมจิตปัญญา และกิจกรรมการศึกษาดูงาน เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้และพัฒนาภายในของผู้วิจัยชุมชนทั้งหมด ตั้งแต่ปี 2553-2555 ผลการศึกษาพบว่า หลังจากการจัดกิจกรรม ชุมชนมีการรวมพลังจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ ทำโครงการกำจัดขยะที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายด้วยวิถีพื้นบ้าน โครงการบ้านน่าอยู่ มีการเรียนรู้สอบสวนโรคผู้ป่วยไข้เลือดออกโดยผู้วิจัยชุมชน และมีการขยายเครือข่ายสุขภาพจากอาสาสมัครสาธารณสุขสู่กลุ่มแม่บ้าน ผู้นำชุมชน เช่นผู้ใหญ่บ้าน กำนัน และองค์กรบริหารส่วนตำบล เป็นต้น การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมนี้ แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาศักยภาพของชุมชนทั้งเทคนิควิชาการและจิตใจ เป็นหลักสำคัญในการพัฒนารูปแบบการป้องกันและควบคุมโรคโดยชุมชน และเป็นตัวอย่างของชุมชนป้องกันควบคุมโรคที่เข้มแข็งและยั่งยืน รวมทั้งสามารถขยายผลดำเนินการในชุมชนอื่นอีกต่อไป
Downloads
References
2. WHO . Prevention and control of dengue and dengue hemorrhagic fever:comprehensive guideline.New Delni:WHO Regional Publication. 1999 . SEARO No 29.
3. WHO.Dengue and dengue heamorrhagic fever. In Face Sheet. World Health Organization. Geneva : WHO Regional Publication. 2002 . No 117.
4. WHO. Stragic framework for dengue prevention and control in Asia-Pacific (2006-2010). Paper presented at the Meeting of partner on prevention and control in Asia-Pacific. 2006.
5. Gubler DJ. The changing epidemiology of yellow fever and dengue, 1900 to 2003: full circle? Comparative Immunology, Microbiology and Infectious Diseases. 2004; 27(5): 319-30.
6. Guha-SapirD. Schimmer B. Dengue fever: new paradigms for a changing epidemiology. Emerging Themes in Epidemiology. 2005; 2(1): 1.
7. Guzman MG, Kouri G. Dengue: an update. The Lancet Infectious Diseases. 2002; 2(1): 33-42
8. Spiegel J, Bennett S. Barriers and Bridges to Prevention and Control of Dengue: The Need for a Social-Ecological Approach. EcoHealth 2 ; 2005. 273-290.
9. Chua, K.B.,I. L., Chua, K. H. Efect of chemical fogging on immature Ades mosquitoes in natural fiela conditions.Singapore Med J. 2005; 46(11): 639-644.
10. Ponlawat,A.,Scott,J.G., & Harrington'L.,C. Insecticide susceptibility of Ades aegypti and ades albopictus across Thailand. J Med Entomol. 2005; 42(5): 821-825.
11. Chakravarit A.Kumari R. Eco-e0pidemiological analysis or gangue infection during an outbreak of dengue fever. India. Virology Journal. 2005; 2(32):
12. Ministry of Public Health. National Health Development Plan under the 9th National Economic and Social Development Plan, (2002-2006). Bureau of Policy and Strategy, Ministry of Public Health. EcoHealth. 2001; 2: 273-290.
13. เอกสารสรุปรายงานประจำปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน ; ปี 2551.
14. Deen JL.The challenge vaccine development and introduction . Tropical Medicine and International Health2004. 9(1): 1-3.
15. DeRock D. Deen J, Clemens JD . Policymakers view on dengue fever/dengue hemorrhagic fever and the need for dengue vaccines on four Southeast Asia countries Vaccine. 2003; 22: 121-9.
16. WHO . Global Strategic Framework for Integrated Vector Management : WHO/CDS/CPE/PVC. 2004.
17. วัชรี เกตุโสภิต. ผลกระทบของการประชุมปฏิบัติการเกี่ยวกับให้สุขศึกษา สำหรับการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จังหวัดกาฬสินธุ์ . วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาสุขศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ; 2527.
18. สมศักดิ์ บุตรราช. การศึกษาถึงการให้เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาใช้ทรายอะเบทในชุมชนขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิทยาการระบาด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล ; 2526.
19. กมล สุดประเสริฐ. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานโครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ; 2537. หน้า 7.
20. นิตยา เงินประเสริฐศรี. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม . วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 2544; 7: 61-62.
21. เอกสารและสื่อประกอบการประชุมอบรมเชิงปฏิบัติการ แนวคิดจริยธรรมและกระบวนการพัฒนาโครงร่างการวิจัยทางสังคม เพื่อการทำวิจัยแบบเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม. ครั้งที่ 1-2 ; วันที่ 7-11 ธันวาคม 2552 .ณ บ้านผู้หว่าน จ.นครปฐม.
22. สุภางค์ จันทวานิช. การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2531. หน้า 67 .
23. ขนิษฐา กาญจนสินนท์. โครงสร้างและการเข้าถึงเครือข่ายเศรษฐกิจนอกระบบในชนบท. วิทยานิพนธ์ปริญญาพัฒนาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร; 2536.
24. สุริยา วีรวงศ์ . การศึกษาสังคมและเศรษฐกิจของชุมชนในพื้นที่แนวกันชนของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยสังคมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ; 2538. หน้า 89.
25. พันธ์ทิพย์ รามสูตร. การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล ; 2540. หน้า 33-35.
26. เกศสุดา สิทธิสันติกุล, ภัทรา มาน้อย และคณะ. ลดเหล้างานศพ จุดเริ่มต้นสู่การจัดระเบียบสังคม. บ้านดง. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), สำนักงานภาคเชียงใหม่. 2547.
27. อรุณรุ่ง บุญธนันตพงศ์. ไม่ใช่เรื่องง่ายกับการวิจัยเชิงปฏิบัติแบบมีส่วนร่วม. วารสารวิจัยราชภัฎพระนคร1. 1 มกราคม-มิถุนายน; 2549. หน้า 25.
28. ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์. การมีส่วนร่วมของประชาชน. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษานโยบายสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล;2527. หน้า 2.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ลงพิมพ์ในวารสารควบคุมโรค ถือว่าเป็นผลงานทางวิชาการหรือการวิจัย และวิเคราะห์ตลอดจนเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่ใช่ความเห็นของกรมควบคุมโรค ประเทศไทย หรือกองบรรณาธิการแต่ประการใด ผู้เขียนจำต้องรับผิดชอบต่อบทความของตน