ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมสุขาภิบาลของผู้สัมผัสอาหารในร้านอาหาร ทั้งภายในและรอบ ๆ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
DOI:
https://doi.org/10.14456/dcj.2018.16คำสำคัญ:
พฤติกรรมสุขาภิบาล, ผู้สัมผัสอาหาร, ร้านอาหาร, มหาวิทยาลัยบทคัดย่อ
การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมสุขาภิบาลของผู้สัมผัสอาหารในร้านอาหาร ทั้งภายในและรอบ ๆ มหาวิทยาลัยนเรศวร กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สัมผัสอาหารในร้านอาหาร จำนวน 201 คน สุ่มตัวอย่างร้านอาหารภายในมหาวิทยาลัย และรอบ ๆมหาวิทยาลัยแบบง่าย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม โดยมีค่าความเที่ยงตามวิธีสัมประสิทธิ์อัลฟาของ ครอนบาคทั้งฉบับเท่ากับ 0.86 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการถดถอยเชิงเส้นพหุคูณแบบขั้นตอน ที่ระดับนัยสำคัญที่ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมสุขาภิบาลอาหาร ในภาพรวมอยู่ในระดับสูง ( = 2.47, SD = 0.31, Min = 1.85, Max = 3.00) จากพฤติกรรมสุขาภิบาลทั้ง 4 ด้าน พบว่า พฤติกรรมในด้านสิ่งแวดล้อมมีคะแนนมากที่สุด ในขณะที่ด้านสุขลักษณะส่วนบุคคลมีคะแนนน้อยที่สุด สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมสุขาภิบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติคือ ปัจจัยด้านทัศนคติ และจำนวนครั้งที่เคยได้รับการอบรม ซึ่งปัจจัยทั้ง 2 ด้าน สามารถใช้ร่วมกันพยากรณ์ผลต่อพฤติกรรมสุขาภิบาลของผู้สัมผัสอาหารในร้านอาหาร จากการศึกษาครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่า ผู้ที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องต้องดำเนินการยกระดับทัศนคติที่ถูกต้องแก่ผู้สัมผัส โดยควรจัดให้มีการฝึกอบรมด้านสุขาภิบาลอาหารขึ้นอย่างต่อเนื่อง
Downloads
References
2. สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการปฏิบัติงานด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ สำหรับสาธารณสุขอำเภอ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2557.
3. คณะกรรมการอาหารและยา. คุณภาพความปลอดภัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ สำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา; 2558.
4. กองสุขาภิบาลอาหาร. คู่มือวิชาการสุขาภิบาลอาหารสำหรับเจ้าหน้าที่. กรุงเทพมหานคร: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข; 2556.
5. สุดาวดี ยะสะกะ, พีรญา อึ้งอุดรภักดี, สรัญญา ถี่ป้อม, พันธ์ทิพย์ หินหุ้มเพ็ชร, ณัฐพงศ์ โปรยสุรินทร์. รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภค ภายในมหาวิทยาลัยนเรศวร. พิษณุโลก: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2559.
6. ญานิศา ศรีใส, สุดาวดี ยะสะกะ. สถานการณ์การสุขาภิบาลอาหารบริเวณรอบ ๆ มหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารควบคุมโรค 2559;42:327-36.
7. Hair JJF, Black WC, Babin BJ, Anderson RE, Tatham RL. Multivariate data analysis. 6th ed. New Jersey: Pearson Prentice Hall; 2006.
8. คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ. กรอบยุทธศาสตร์ การจัดการด้านอาหารของประเทศไทย (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1). พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ; 2557.
9. ศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์, นิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์, ชวลิต วโรดมรังสิมันตุ์. สถานการณ์และการบริหารจัดการด้านโภชนาการและสุขาภิบาลอาหาร ของโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก: คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2558.
10. Okojie OH, Wagbatsoma VA, Ighoroge AD. An assessment of food hygiene among food handlers in a Nigerian university campus. Niger Postgrad Med J 2005;12:93-6.
11. กองสุขาภิบาลอนามัย สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร. คู่มือหลักสูตรการสุขาภิบาลอาหารของกรุงเทพมหานคร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ; 2553.
12. Norrakiah AS, Siow ON. Knowledge, attitudes and practices of food handlers on food safety in food service operations at the University Kebangsaan Malaysia. Food Control 2014;37:210-7.
13. Assefa M, Kumie A. Assessment of factors influencing hygiene behaviour among school children in Mereb-Leke District, Northern Ethiopia: a cross-sectional study. BMC Public Health 2014;14:1000.
14. Siow ON, Norrakiah AS. Assessment of knowledge, attitudes and pactices (KAP) among food handlers at residential colleges and canteen regarding food safety. Sains Malaysiana 2011;40:403-10.
15. Lin W, Hang CM, Yang HC, Hung MH. 2005-2008 Nutrition and health survey in Taiwan: the nutrition knowledge, attitude and behavior of 19-64 years old adults. Asia Pac J Clin Nutr 2011;20:309-18.
16. Salminen S, Bouley C, Boutron-Ruault MC, Cummings JH, Franck A, Gibson GR, et al. Functional food science and gastrointestinal physiology and function. Br J Nutr 1998;80:S147-71.
17. นฤมล วีระพันธ์, ปราณี ทองคำ. ปัจจัยที่มีผลต่อสภาวะการสุขาภิบาลอาหารตามหลักเกณฑ์ข้อกำหนดมาตรฐานของร้านอาหารในเขตอำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 2550;13:187-200.
18. ฐานิศา สาเบด, ชาญชัย เรืองขจร, กัลยา ตันสกุล. สภาพการสุขาภิบาลอาหารในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาควบคู่สามัญจังหวัดสตูล. วารสารสุขาภิบาลอาหารและน้ำ 2557;5:28-33.
19. Abdul-Mutalib N-A, Abdul-Rashid M-F, Mustafa S, Amin Nordin S, Hamat RA, Osman M. Knowledge, attitude and practices regarding food hygiene and sanitation of food handlers in Kuala Pilah, Malaysia.
Food Control 2012;27:289-93.
20. Tan SL, Bakar FA, Abdul Karim MS, Lee HY, Mahyudin NA. Hand hygiene knowledge, attitudes and practices among food handlers at primary schools in Hulu Langat district, Selangor (Malaysia). Food Control 2013;34:428-35.
21. Wen-Hwa Ko. Food sanitation knowledge, attitude, and behavior for the University Restaurants Employees. Food Nutr Sci 2011;2:744-50.
22. ศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์, นิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์, ชวลิต วโรดมรังสิมันต์. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อพฤติกรรมบริโภคอาหารที่ถูกสุขลักษณะในนักเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิจัยเเละพัฒนาระบบสุขภาพ 2560;10:205-
12.
23. House JS. Work stress and social support. Reading, MA: Addison-Wesley; 1981.
24. Kibre M, Abera B. The sanitary conditions of food service establishment and food safety knowlege and practice of food handles in Bahir Dar town. Ethiop J Health Sci 2012;22:27-35.
25. Lynch RA, Elldege BL, Griffith CC, Boatright DJ. A comparison of food safety knowledge among restaurant managers, by source of training and experience, in Oklahoma Country, Oklahoma. J Environl Health 2003;66:9-14.
26. Gillespie I, Little C, Mitchell R. Mirobiological examination of cold ready-to-eat sliced meats from catering establishments in the United Kingdom. J Appl Microbiol 2000;88:467-74.
27. สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. ทฤษฏีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2541.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ลงพิมพ์ในวารสารควบคุมโรค ถือว่าเป็นผลงานทางวิชาการหรือการวิจัย และวิเคราะห์ตลอดจนเป็นความเห็นส่วนตัวของผู้เขียน ไม่ใช่ความเห็นของกรมควบคุมโรค ประเทศไทย หรือกองบรรณาธิการแต่ประการใด ผู้เขียนจำต้องรับผิดชอบต่อบทความของตน