Reproductive Loss due to Pestivirus Infection in Dairy Cattle Herds in Thailand

Authors

  • Jaruwan Kampa Department of Pathobiology, Faculty of Veterinary Medicine, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002, Thailand - Research Group for Preventive Technology in Swine and Ruminant Disease, Faculty of Veterinary Medicine, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002, Thailand
  • Uthaiwan Sigh-na Department of Surgery and Theriogenology, Faculty of Veterinary Medicine, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002, Thailand
  • Kwankate Kanistanon Department of Physiology, Faculty of Veterinary Medicine, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002, Thailand
  • Suneerat Aiumlamai Department of Surgery and Theriogenology, Faculty of Veterinary Medicine, Khon Kaen University, Khon Kaen 40002, Thailand

Keywords:

โบวาย ไวรัลไดอะเรีย, โค, เพสติไวรัส, การสูญเสียทางการสืบพันธุ์, bovine viral diarrhea virus, cattle, pestivirus, reproductive loss

Abstract

บทคัดย่อ

การติดเชื้อเพสติไวรัส (pestivirus) ในโคหรือไวรัสโบวายไวรัลไดอะเรียส่งผลให้เกิดความเสียหายอย่างยิ่งต่อการผลิตโค การศึกษาในประเทศไทยปี พ.ศ. 2547 พบการติดเชื้อเพสติไวรัสสายพันธุ์ใหม่ เป็นเพสติไวรัสชนิดพิเศษ (atypical pestivirus) ในลูกโคนมในเขตจังหวัดขอนแก่น แต่ยังไม่มีการศึกษาผลต่อการสืบพันธุ์ในโค การศึกษาในครั้งนี้มุ่งแสดงผลของไวรัสต่อการสืบพันธุ์และศึกษาด้านระบาดวิทยาของไวรัสนี้ในพื้นที่ที่พบเพสติไวรัสชนิดพิเศษนี้ในปีพ.ศ. 2551-2552 น้ำนมถังรวมจากฟาร์มโคนมจำนวน 420 ฟาร์มได้ใช้เป็นตัวแทนฟาร์มเพื่อประเมินภาวการณ์ติดเชื้อ โดยแบ่งฟาร์มเป็นกลุ่มที่มีการติดเชื้อในระดับสูงและกลุ่มที่ไม่ติดเชื้อ จากนั้นเก็บข้อมูลด้านสมรรถนะการสืบพันธุ์ในแม่โคทั้งสองกลุ่ม 4 ดัชนี ได้แก่ ระยะห่างวันคลอด-ผสมครั้งแรกระยะห่างวันคลอด-ผสมติด ระยะห่างวันคลอดและร้อยละการผสมติด ผลการศึกษาพบว่าดัชนีการสืบพันธุ์ทั้ง 4 ดัชนีในแม่โคของฟาร์มที่มีการติดเชื้อในระดับสูงและที่ไม่ติดเชื้อ มีค่าที่แตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญ (p<0.05) ได้แก่ระยะห่างวันคลอด-ผสมครั้งแรก121 และ 89 วัน ระยะห่างวันคลอด-ผสมติด 170 และ 127 วัน ระยะห่างวันคลอด450 และ 406 วัน และ ร้อยละการผสมติดเท่ากับ 49 และ 57 ตามลำดับ นอกจากนี้พบว่าอัตราส่วนของฟาร์มที่มีการติดเชื้อในระดับสูงนี้ไม่ลดลงจากการศึกษาเมื่อปี พ.ศ. 2547 แสดงถึงการมีไวรัสนี้อยู่ในประชากรโคในพื้นที่และอาจก่อความเสียหายมากขึ้นในอนาคต

คำสำคัญ: โบวาย ไวรัลไดอะเรีย โค เพสติไวรัส การสูญเสียทางการสืบพันธุ์

 

Abstract

Infection with bovine pestivirus, Bovine Viral Diarrhoea Virus (BVDV), causes significant loss in cattleproduction worldwide. A new type of bovine pestivirus, atypical pestivirus, was identified in natural infected calffirstly in Khon Kaen, Thailand in 2004. The epidemiological studies have been done in the area, but loss inreproduction due to the infection has never been accessed. This study aims to investigate losses in herd’sreproduction and update epidemiological data in the population where atypical pestivirus was found. During 2008-2009, 420 dairy herds in the area were classified according to infective status into high-positive and non-infectiveherds by antibody analysis in bulk tank milk samples. Data of reproduction of cows in both groups, at the sameproportion, with 4 indices, i.e. calving to first service interval (CFS), calving to conception interval (CCI), calvinginterval (CI) and overall pregnancy rate, were compared by t-test. The CSF, CCI, CI and overall pregnancy rate of thehigh-positive herds were significantly (p<0.05) poorer than the non-infective herds; 121 vs 89 days, 170 vs 127 days,450 vs 406 days and 49% vs 57%, respectively. Moreover, the proportion of the high-positive herds did not changefrom the 4-year earlier investigation, indicating that the virus still circulates in the area and may cause losses in Thaidairy production in the near future.

Keywords: bovine viral diarrhea virus, cattle, pestivirus, reproductive loss

Downloads

How to Cite

Kampa, J., Sigh-na, U., Kanistanon, K., & Aiumlamai, S. (2013). Reproductive Loss due to Pestivirus Infection in Dairy Cattle Herds in Thailand. The Thai Journal of Veterinary Medicine, 41(4), 409–416. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/tjvm/article/view/9605

Issue

Section

Original Articles