Development of Semi-nested PCR for Detection of 16S rRNA Gene of Mycoplasma hyosynoviae

Authors

  • Pacharee Thongkamkoon - National Institute of Animal Health, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand - Department of Agriculture, Tokyo University of Agriculture, Tokyo, Japan
  • Watcharachai Narongsak National Institute of Animal Health, Chatuchak, Bangkok 10900, Thailand
  • Metta Makhanon Novartis (Thailand) Ltd., Klongtoey, Bangkok 10110, Thailand
  • Kobayashi Hideki National Institute of Animal Health, Tsukuba, Ibaraki 305-0856, Japan
  • Koshi Yamamoto Department of Agriculture, Tokyo University of Agriculture, Tokyo, Japan

Keywords:

มัยโคพลาสมา, ไฮโอซินโนวิเอ้, สุกร, ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรสแบบเซมิเนสเต็ด, Mycoplasma hyosynoviae, pig, semi-nested PCR

Abstract

บทคัดย่อ

ในประเทศไทยพบว่าในฟาร์มสุกรพันธุ์มีสุกรที่แสดงอาการข้ออักเสบโดยที่เชื้อมัยโคพลาสมา ไฮโอซินโนวิเอ้ อาจเป็นสาเหตุหนึ่ง ของการเกิดโรค ดังนั้นปฏิกิริยาลูกโซ่โพลิเมอเรสแบบเซมิเนสเต็ด จึงได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อใช้สำหรับตรวจหาเชื้อมัยโคพลาสมา ไฮโอซินโนวิ เอ้ ในอวัยวะของสุกรในประเทศไทย โดยการใช้ไพรเมอร์ 3 เส้นที่จำเพาะต่อจีน 16S rRNA ของเชื้อชนิดนี้ เทคนิคนี้สามารถตรวจพบดีเอ็นเอ ของเชื้อในปฏิกิริยาได้ตั้งแต่ 10 เฟมโตแกรม และสามารถตรวจพบผลบวกในตัวอย่างอวัยวะปอดของสุกรที่มีเชื้ออยู่ได้ตั้งแต่ 103 CFU ต่อ ตัวอย่าง 1 กรัม การศึกษาเบื้องต้นโดยการตรวจหาดีเอ็นเอของเชื้อมัยโคพลาสมา ไฮโอซินโนวิเอ้ จากตัวอย่างทอนซิลสุกรที่เก็บจากโรงฆ่า สัตว์ พบว่ามีสุกรติดเชื้อจากฟาร์มต่างๆ จำนวน 5 ฟาร์มจากทั้งหมด 10 ฟาร์ม แสดงให้เห็นว่าสามารถนำเทคนิคนี้ไปใช้ในการคัดกรอง เบื้องต้นการติดเชื้อมัยโคพลาสมา ไฮโอซินโนวิเอ้ ในฟาร์มสุกร

คำสำคัญ : มัยโคพลาสมา, ไฮโอซินโนวิเอ้, สุกร, ปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรสแบบเซมิเนสเต็ด

 

Abstract

In Thailand, some breeders in pig farms have had osteoarthritis lesions for which M. hyosynoviae might be one of the causative agents. Therefore, the semi-nested polymerase chain reaction assay was developed for detection of Mycoplasma hyosynoviae in organs of pigs in Thailand using three oligonucleotide primers specific to 16S rRNA gene of M. hyosynoviae. The detection limit of purified DNA was 10 femtogram per reaction and of the simulated lung sample was 103 CFU per gram of sample. Preliminary study for tonsil-carrier state of M. hyosynoviae in slaughtered pigs revealed the presence of M. hyosynoviae in 5 out of 10 farms. Thus, the semi-nested PCR is a useful tool for presumptive screening of M. hyosynoviae presenting in pig herds.

Keywords : Mycoplasma hyosynoviae, pig, semi-nested PCR

Downloads

How to Cite

Thongkamkoon, P., Narongsak, W., Makhanon, M., Hideki, K., & Yamamoto, K. (2013). Development of Semi-nested PCR for Detection of 16S rRNA Gene of Mycoplasma hyosynoviae. The Thai Journal of Veterinary Medicine, 42(4), 477–482. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/tjvm/article/view/9583

Issue

Section

Original Articles