Cloning Efficiency of Canine Mesenchymal Stem cells Isolated from Bone Marrow of Femoral Head and Subcutaneous Adipose Tissue

Authors

  • Nada Tanamai - Center of Agricultural Biotechnology, Kasetsart University, Kamphaeng Saen Campus, Nakhon Pathom 73140, Thailand. - Center of Excellence on Agricultural Biotechnology: (AG-BIO/PERDP-CHE), Bangkok 10900, Thailand
  • Sirirak Chantakru Department of Anatomy, Faculty of Veterinary Medicine, Kasetsart University, Bangkok 10900, Thailand.
  • Monchanok Vijarnsorn Department of Companion Animals Clinical Sciences, Faculty of Veterinary Medicine, Kasetsart University, Bangkok 10900, Thailand.

Keywords:

สุนัข, การสร้างโคโลนี, เซลล์ต้นกำเนิดชนิดมีเซนไคม์, canine, colony forming unit-fibroblast, mesenchymal stem cells

Abstract

บทคัดย่อ

ปัจจุบันเนื้อเยื่อไขมันเป็นแหล่งของเซลล์ต้นกำเนิดชนิดมีเซนไคม์ที่น่าสนใจ แหล่งหนึ่ง นอกเหนือไปจากแหล่งไขกระดูก ซึ่งการ เจาะดูดไขกระดูกเป็นวิธีที่ทำให้เกิดความเจ็บปวดและเสี่ยงต่อการติดเชื้อ แทรกซ้อนได้ งานวิจัยนี้มุ่งเน้นการหาแหล่งของเซลล์ต้นกำเนิดชนิด มีเซนไคม์ที่เหมาะสมในร่างกายโดยใช้เซลล์ของสุนัขเป็นแม่แบบ ศึกษาเปรียบเทียบคุณลักษณะของเซลล์และความหนาแน่นของเซลล์จาก ความสามารถในการสร้างโคโลนีของเซลล์ต้นกำเนิดชนิดมีเซนไคม์ จาก 2 แหล่งคือ ไขกระดูกและเนื้อเยื่อไขมันใต้ผิวหนัง พบว่าเซลล์ต้น กำเนิดชนิดมีเซนไคม์จากทั้ง 2 แหล่งสามารถเกาะติดกับพื้นผิวพลาสติก มีรูปร่างคล้ายกระสวยและมีคุณสมบัติในการสร้างโคโลนีได้ใน ระยะเวลาประมาณ 10 วันของการเพาะเลี้ยง สัดส่วนจำนวนโคโลนีต่อจำนวนเซลล์นิวเคลียสเดี่ยวและสัดส่วนจำนวนโคโลนีต่อ จำนวนเซลล์ที่ เกาะติดพื้นผิวพลาสติกของเซลล์ที่เก็บจากเนื้อเยื่อไขมันมีสัดส่วนที่มากก ว่าเซลล์ที่เก็บจากไขกระดูกอย่างมีนัยสำคัญ จากงานวิจัยนี้จึงสรุปว่า เนื้อเยื่อไขมันเป็นแหล่งที่เหมาะสมสำหรับการเก็บเซลล์ต้นกำเนิดชนิดมีเซน ไคม์เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ต่อไปในอนาคตและเซลล์ ต้นกำเนิดที่ได้จากแหล่งนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนได้เร็วกว่าเซลล์ต้นกำเนิด ที่เก็บได้จากแหล่งไขกระดูกอีกด้วย

คำสำคัญ : สุนัข, การสร้างโคโลนี, เซลล์ต้นกำเนิดชนิดมีเซนไคม์

 

Abstract

Most recently, adipose tissue (AD) has become an alternative source for mesenchymal stem cells (MSCs) instead of the invasive method of bone marrow (BM) aspiration both in human and canine. In this study, we compared MSCs derived from adipose tissue (AD-MSCs) and bone marrow (BM-MSCs) regarding morphology and cell yield for instant usage by using the standard protocol of counting colony forming unit-fibroblast (CFU-F). MSCs from both sources showed fibroblast-like morphology and formed colonies termed as CFU-F after culturing in plastic surface for 10 days. The colony number per mononuclear cells (MNCs) and the colony number per adherent cells derived from AD were significantly higher than those derived from BM. Our study suggested that AD not only was a suitable source to harvest and but also had a higher performance of clonal efficiency of MSCs than BM. Thus, subcutaneous AD might be an appropriated source for stem cells therapy in canine.

Keywords : canine, colony forming unit-fibroblast, mesenchymal stem cells

Downloads

How to Cite

Tanamai, N., Chantakru, S., & Vijarnsorn, M. (2013). Cloning Efficiency of Canine Mesenchymal Stem cells Isolated from Bone Marrow of Femoral Head and Subcutaneous Adipose Tissue. The Thai Journal of Veterinary Medicine, 43(1), 125–130. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/tjvm/article/view/9565

Issue

Section

Short Communications