Antibacterial Activity of Tannin from Sweet Chestnut Wood Against Aeromonas and Streptococcal Pathogens of Tilapia (Oreochromis niloticus)

Authors

  • Hathairat Maisak Department of Veterinary Medicine, Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand
  • Sasibha Jantrakajorn Faculty of Veterinary Science, Prince of Songkla University, Songkla, Thailand
  • Mintra Lukkana National Bureau of Agricultural Commodity and Food Standards, Ministry of Agriculture and Cooperatives, Bangkok, Thailand
  • Janenuj Wongtavatchai Department of Veterinary Medicine, Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University, Bangkok, Thailand

Keywords:

เชื้อแอโรโมแนส, ต้านเชื้อแบคทีเรีย, เชื้อสเตรปโตคอคคัส, สารแทนนิน, ปลานิล, Aeromonas, antibacterial activity, Streptococcus, tannin, tilapia

Abstract

บทคัดย่อ

การศึกษานี้เป็นการทดสอบคุณสมบัติของสารแทนนินที่สกัดจากต้นเกาลัดในการต้านเชื้อแอโรโมแนสและเชื้อสเตรปโตคอคคัสซึ่ง เป็นแบคทีเรียก่อโรคสำคัญในฟาร์มปลานิล Aeromonas hydrophila และ Streptococcus agalactiae ที่แยกจากปลานิลป่วยจำนวน อย่างละ 20 เชื้อ และตรวจยืนยันชนิดเชื้อด้วยวิธีชีวเคมีและปฏิกิริยาห่วงโซ่พอลิเมอเรส ถูกนำมาทดสอบกับสารแทนนินและยาออกซิเตตร้า ไซคลิน ความเข้มข้นต่ำสุดของสารแทนนินและยาออกซิเตตร้าไซคลินในการยับยั้งการเจริญของ A. hydrophila เท่ากับ 18.75-300 ไมโครกรัม/มล. และ 0.125-128 ไมโครกรัม/มล. และ S. agalactiae เท่ากับ 600 ไมโครกรัม/มล. และ 0.5-8 ไมโครกรัม/มล. ตามลำดับ นอกจากนี้พบว่าความเข้มข้นต่ำสุดของยาออกซิเตตร้าไซคลินในการต้านเชื้อ A. hydrophila และ S. agalactiae ลดลงเมื่อผสมแทนนิน (150 ไมโครกรัม/มล.) ในอาหารเลี้ยงเชื้อ การทดสอบทางห้องปฏิบัติการแสดงว่าสารประกอบแทนนินมีคุณสมบัติในการต้านเชื้อแอโรโมแนส ไฮโดรฟิลาและเชื้อสเตรปโตคอคคัสคุณสมบัติดังกล่าวไม่สัมพันธ์กับความเป็นกรดของสารประกอบแทนนิน โดยพบว่าอาหารเลี้ยงเชื้อที่ผสม แทนนิน (600 μg/ml) มีค่า pH 6.5-7.0 คุณสมบัติของแทนนินในการต้านเชื้อแบคทีเรียแอโรโมแนสและเชื้อสเตรปโตคอคคัสที่ปรากฎใน การศึกษานี้สามารถนำไปสู่การทดสอบการใช้แทนนินเป็นสารที่เติมในอาหารปลาเพื่อต้านเชื้อแบคทีเรีย และอาจร่วมกับการใช้ยาต้านจุลชีพ ในการควบคุมการติดเชื้อแบคทีเรีย

คำสำคัญ : เชื้อแอโรโมแนส, ต้านเชื้อแบคทีเรีย, เชื้อสเตรปโตคอคคัส, สารแทนนิน, ปลานิล

 

Abstract

The present study determined the inhibitory effect of tannin from sweet chestnut wood against tilapia Oreochromis niloticus bacterial pathogens, Aeromonas hydrophila (20 isolates) and Streptococcus agalactiae (20 isolates). Minimum Inhibitory Concentrations (MICs) corresponding to tannin and oxytetracycline (OTC) for A. hydrophila were 18.75-300 μg/ml and 0.125-128 μg/ml; and for S. agalactiae were 600 μg/ml and 0.5-8 μg/ml, respectively. The antibacterial potency of tannin from sweet chestnut wood was found in the test system of pH: 6.5-7.0, suggesting that the inhibitory effect of tannins is unrelated to their acidity property. The OTC-resistant A. hydrophila and S. agalactiae (MIC of OTC > 4 μg/ml) responded to lower MICs of OTC in the test system with sub-inhibitory concentration of tannins (150 μg/ml). Concerning the trend towards the evolution of antimicrobial resistant strains, the antimicrobial activity of tannins may be a possible additive compound against fish pathogens treated with antibiotics.

Keywords : Aeromonas, antibacterial activity, Streptococcus, tannin, tilapia

Downloads

How to Cite

Maisak, H., Jantrakajorn, S., Lukkana, M., & Wongtavatchai, J. (2013). Antibacterial Activity of Tannin from Sweet Chestnut Wood Against Aeromonas and Streptococcal Pathogens of Tilapia (Oreochromis niloticus). The Thai Journal of Veterinary Medicine, 43(1), 105–111. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/tjvm/article/view/9543

Issue

Section

Original Articles